บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 898
เมื่อวาน 984
สัปดาห์นี้ 11,927
สัปดาห์ก่อน 29,853
เดือนนี้ 59,084
เดือนก่อน 65,987
ทั้งหมด 4,874,336
  Your IP :18.188.76.209

3.2 เครื่องยนต์จุดระเบิดแบบอัดตัว หรือเครื่องยนต์ดีเซล    

 

 

รูปเครื่องยนต์ดีเซล

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

      เครื่องยนต์จุดระเบิดแบบอัดตัว (Compression ignition engines) โดยปกติจะใช้น้ำมันดีเซล  เป็นเชื้อเพลิง เครื่องยนต์จุดระเบิดแบบอัดตัว สี่จังหวะ มีการทำงานคล้ายกับเครื่องยนต์แก๊สโซลีนสี่จังหวะ มีจังหวะทำงานได้แก่ จังหวะดูด, อัด, ระเบิด, คาย

 

 

รูปจังหวะการทำงานของเครื่องยนต์ดีเซล

 

      อย่างไรก็ตาม เครื่องยนต์จุดระเบิดด้วยการอัด จะใช้แค่อากาศเข้าไปในกระบอกสูบ ส่วนเชื้อเพลิงจะฉีดโดยตรงไปยังกระบอกสูบก่อนที่ลูกสูบจะเลื่อนขึ้นไปถึงศูนย์ตายบน

 

      อุณหภูมิที่สูงในการอัดอากาศจะทำหน้าที่จุดระเบิดเชื้อเพลิง อากาศไหลที่ให้ความเร็วรอบเครื่องยนต์หนึ่ง จะไม่เปลี่ยนแปลง และการควบคุมโหลดทำได้โดยการเปลี่ยนปริมาณเชื้อเพลิงที่ฉีดเข้าไป เมื่อเทียบกับเครื่องยนต์จุดระเบิดด้วยประกายไฟ จะมีความแตกต่างกัน เนื่องจาก

 

1) อัตราส่วนการอัดที่สูงกว่า

2) ในการอัด จะอัดแค่อากาศเข้าไป

3) ส่วนผสม เชื้อเพลิง / อากาศ อยู่ในสภาวะอ่อนเสมอ

 

 

รูปแอนิเมทชั่นการทำงานของเครื่องยนต์ดีเซล

 

ลักษณะการทำงานเหล่านี้ ส่งผลทำให้ประสิทธิภาพการใช้เชื้อเพลิงดีกว่าเครื่องยนต์แก๊สโซลีน นอกจากนี้ เครื่องยนต์ดีเซล โดยทั่วไปถูกออกแบบให้ทำงานที่ความเร็วรอบต่ำกว่า และดังนั้นการสูญเสียความร้อนจะน้อยลง

 

เข้าไปอ่านบทความเรื่องเครื่องยนต์ดีเซลได้ ที่นี่

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“เขามีส่วน เลวบ้าง ช่างหัวเขา

จงเลือกเอา ส่วนที่ดี เขามีอยู่

เป็นประโยชน์ โลกบ้าง ยังน่าดู

ส่วนที่ชั่ว อย่าไปรู้ ของเขาเลย

จะหาคน มีดี โดยส่วนเดียว

อย่ามัวเที่ยว ค้นหา สหายเอ๋ย

เหมือนเที่ยวหา หนวดเต่า ตายเปล่าเลย

ฝึกให้เคย มองแต่ดี มีคุณจริง”

ท่านพุทธทาสภิกขุ

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                    หน้าต่อไป>

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา