บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 782
เมื่อวาน 1,689
สัปดาห์นี้ 13,071
สัปดาห์ก่อน 10,374
เดือนนี้ 24,602
เดือนก่อน 80,499
ทั้งหมด 4,712,658
  Your IP :44.222.82.133

3.1.6 การควบคุมการปล่อยก๊าซ

 

      ทุกวันนี้การปล่อยมลพิษจะถูกควบคุมอยู่สามประเด็น คือ เชื้อเพลิง, เครื่องยนต์ และไอเสีย (หลังจากปรับสภาพ) แก๊สโซลีนมีการปรับเปลี่ยนโดยใช้สารเติมแต่ง และกระบวนการกลั่นเป็นการปรับองค์ประกอบเพื่อลดการก่อตัวของสารก่อมลพิษ และใช้งานได้ดีขึ้นหลังจากการปรับแต่ง

 

      ยกตัวอย่างเช่น แก๊สโซลีนที่ได้มีการจัดรูปแบบใหม่ที่ประกอบไปด้วย เมทิล เทอร์เทียรี่-บูทีล อีเทอร์ (Methyl Tertiary-Butyl Ether: MTBE)

 

 

รูปเมทิล เทอร์เทียรี่-บูทีล อีเทอร์

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

 

รูปพันธะทางเคมีของเมทิล เทอร์เทียรี่-บูทีล อีเทอร์

 

ซึ่งจะเพิ่มอัตราส่วนค่าออกเทนทดแทนการใช้ตะกั่ว (Lead) เอ็มทีบีอี เป็นอันตรายต่อชั้นบรรยากาศน้อยกว่าสารตะกั่วที่มีการใช้งานก่อนหน้านี้ แต่ทว่า มันก็ไม่ยาวนาน หากเกิดการรั่วไหลลงสู่แหล่งน้ำจะเกิดอันตรายได้

 

      แก๊สโซลีน มันก็ยังคงมีส่วนผสมของกำมะถันอยู่ แม้ว่าจะมีเทคนิคการปรับสภาพบางอย่างที่ทำให้ทนต่อสารประกอบกำมะถันแต่ทำได้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น

 

      ตัวอย่างที่ดีของเทคนิคการออกแบบเครื่องยนต์ คือ การจำกัดการก่อตัวของมลพิษที่ปล่อยออกมาสู่ชั้นบรรยากาศภายนอก ที่เราเคยพบบ่อยก่อนหน้านี้ เครื่องยนต์จะดูดเอาอากาศจากภายในห้องเครื่องยนต์เข้าไปใช้งาน ซึ่งอากาศในห้องเครื่องยนต์เหล่านี้จะมีความร้อนอยู่พอสมควร

 

      จึงทำให้อากาศมีอุณหภูมิสูงก่อนเข้าสู่กระบวนการอัด และเผาไหม้ มันส่งผลทำให้เกิดไนตริกออกไซด์สูง ซึ่งในปัจจุบัน จะมีท่อยื่นออกมาด้านนอก หรือออกแบบให้มันดูดอากาศจากรอบ ๆ ภายนอกเครื่องยนต์ ซึ่งมันจะเย็นกว่ามาก และทำให้เกิดไนตริกออกไซด์ต่ำ

 

 

รูปตัวอย่างการติดตั้งท่อทางดูดอากาศจากอากาศภายนอกรถ

 

      การออกแบบ หรือการปรับเปลี่ยนตัวแปรอื่น ๆ ที่มีผลต่อการก่อตัวของสารก่อมลพิษ ได้แก่

 

การอัดฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงด้วยความดันสูง และการไหลเข้าของอากาศแบบไหลวน (Turbulent) ที่ทำให้เกิดส่วนผสมเป็นเนื้อเดียวกันมากขึ้น

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“ความเห็นผิด

ปิดบังหัวใจคนได้อย่างน่ากลัว

เหมือนข้างในภาชนะที่คว่ำไว้

แสงสว่างจ้าแค่ไหน ก็เข้าไม่ได้”

ชยสาโรภิกขุ

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                    หน้าต่อไป>

 

 

 

 

 

 

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา