บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 733
เมื่อวาน 1,689
สัปดาห์นี้ 13,022
สัปดาห์ก่อน 10,374
เดือนนี้ 24,553
เดือนก่อน 80,499
ทั้งหมด 4,712,609
  Your IP :44.222.82.133

3.1.2.5 การปล่อยมลพิษจำเพาะ

 

      การปล่อยมลพิษจำเพาะ (Specific emissions) ระดับการปล่อยออกไซด์ของไนโตเจน (ไนตริกออกไซด์ (Nitric Oxide: NO)) และไนโตรเจนไดออกไซด์ (Nitrogen dioxide: NO2) ที่พบ มักจะร่วมกัน NOx) คาร์บอนมอนอกไซด์, สารไฮโดรคาร์บอนที่เผาไหม้ไม่หมด (HCs) และสิ่งอื่นสำคัญจากการทำงานของเครื่องยนต์

 

 

รูปยานยนต์บนท้องถนน

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

      ความเข้มข้นของการปล่อยก๊าซ ในไอเสียเครื่องยนต์ ถูกวัดได้เป็นหน่วยในส่วนต่อล้านส่วน หรือเปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร (เศษส่วนโมล)

 

การปล่อยมลพิษจำเพาะ คืออัตราการไหลของสารก่อมลพิษต่อกำลังงานที่ออกมา

 

 

รูปสมการที่ 3.9 - 3.12

 

อีกวิธีหนึ่ง คือ อัตราการปล่อยมลพิษ สามารถหาได้จากอัตราการไหลของน้ำมันเชื้อเพลิง ดัชนีการปล่อยมลพิษ (Emissions Index: EI) มีสมการดังนี้

 

 

รูปสมการที่ 3.13

 

ส่วนของ CO, HA และอนุภาค สมการก็คล้ายกัน

 

 

3.1.2.6 อัตราส่วนเชื้อเพลิง / อากาศ และอากาศ / เชื้อเพลิง

 

      ในการทดสอบเครื่องยนต์ ทั้งอัตราการไหลของมวลอากาศ (ma ) และอัตราการไหลของมวลเชื้อเพลิง (mf ) ที่วัดตามปกติ อัตราส่วนของอัตราการไหลเหล่านี้มันมีประโยชน์ในการกำหนดเงื่อนไขการทำงานของเครื่องยนต์

 

 

รูปสมการที่ 3.14

 

      อัตราส่วนเชื้อเพลิงต่ออากาศในทางทฤษฏีจะถูกกำหนดเป็นอัตราส่วนมวลของเชื้อเพลิง กับมวลของอากาศดังที่กล่าว อัตราส่วนมวลนี้ การเผาไหม้สามารถเกิดความสมบูรณ์ทางเคมี

 

      สำหรับแก๊สโซลีน (น้ำมันเบนซิน) อัตราส่วนน้ำมันเชื้อเพลิงต่ออากาศอยู่ที่ 0.0685 (ส่วน อัตราส่วนอากาศต่อเชื้อเพลิงอยู่ที่ 14.6) สะดวกมากขึ้น อัตราส่วนสมมูล (เท่าเทียม) เชื้อเพลิงต่ออากาศ (f) ส่วนอัตราส่วนสมมูลอากาศต่อเชื้อเพลิง (l) เป็นที่นิยมใช้

 

อัตราส่วนสมมูลของเชื้อเพลิงต่ออากาศถูกกำหนดให้เป็น

 

 

รูปสมการที่ 3.15 และ16

 

สำหรับเชื้อเพลิงส่วนผสมหนา                 f >1, l <1

สำหรับส่วนผสมทางทฤษฏี                 f = 1, l = 1

สำหรับเชื้อเพลิงส่วนผสมบาง                 f <1, l >1

 

      ช่วงการทำงานปกติสำหรับเครื่องยนต์แก๊สโซลีนมีค่าอยู่ในช่วง 0.82 < f < 1.23 หรือ 0.056 < F/A < 0.083

 

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

“คนที่ประสบความสำเร็จ

เขาไม่ใช่แค่เป็น นักฝัน

แต่เขาเริ่มด้วยการ

ลงมือทำ”

 

 

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา