บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 899
เมื่อวาน 4,269
สัปดาห์นี้ 7,529
สัปดาห์ก่อน 12,420
เดือนนี้ 27,405
เดือนก่อน 60,751
ทั้งหมด 4,980,291
  Your IP :3.144.28.90

2.7.3 สมรรถนะในการเร่ง

 

      สมรรถนะในการเร่งของยานยนต์ ปกติสามารถอธิบายได้จาก เวลาในการเร่งของมัน กับระยะทางที่เริ่มจากความเร็วที่ศูนย์ไปถึงความเร็วสูงสุด ยกตัวอย่างเช่น จากความเร็วที่ 0 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ไปจนถึง 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง บนพื้นทางเรียบ

 

 

รูปการแข่งรถที่ต้องใช้ความเร่งสูงสุดเพื่อการเอาชนะ

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

วิดีโอการทดสอบอัตราเร่ง

 

   ใช้กฎข้อที่สองของนิวตัน สมการที่ 2.13 ความเร่งของยานยนต์สามารถเขียนได้ดังนี้

 

 

รูปสมการที่ 2.55

 

กำหนดให้   d = ตัวประกอบของมวล (Mass factor)

 

d  มีค่าเท่ากับมวลที่เพิ่มอันขึ้นเนื่องจาก การเกิดโมเมนต์เชิงมุมของชิ้นส่วนที่กำลังหมุน ซึ่งตัวประกอบของมวลสามารถเขียนเป็นสมการได้ดังนี้

 

 

รูปสมการที่ 2.56

 

กำหนดให้   Iw = โมเมนต์เชิงมุมโดยรวมของล้อ

                Ip = โมเมนต์เชิงมุมโดยรวมของชิ้นส่วนที่หมุน ที่เชื่อมโยงกับต้นกำลัง

 

ในการคำนวณตัวประกอบของมวล จำเป็นที่จะต้องรู้ค่าของโมเมนต์ความเฉื่อย (Mass moments of inertia) ของชิ้นส่วนที่มีการหมุนทั้งหมด

 

      ในกรณีที่มีค่าซึ่งไม่ทราบอยู่ ค่าตัวประกอบของมวลสำหรับรถยนต์นั่งส่วนบุคคลจะใช้การประมาณค่าเอา ซึ่งสามารถหาได้จากความสัมพันธ์ดังต่อไปนี้

 

d = 1+d1+d2ig2 i02                  (2.57)

 

กำหนดให้   d1 = แสดงให้เห็นถึงเทอมที่อยู่ทางด้านขวาของสมการที่ 2.56 ค่าที่เหมาะสมจะอยู่ที่ 0.4

                d2 = แสดงให้เห็นถึงผลของต้นกำลังในชิ้นส่วนที่กำลังหมุน และมีค่าประมาณอยู่ที่ 0.0025

 

 

รูปการเร่งของเครื่องยนต์ที่มี 3 เกียร์

 

 

รูปกราฟการเร่งของยานยนต์ที่ต้นกำลังเป็นมอเตอร์ไฟฟ้า

 

                สองรูปด้านบน แสดงให้เห็นถึงความเร่งจนเกิดความเร็วของยานยนต์ในเครื่องยนต์แก๊สโซลีนสาม เกียร์ และมอเตอร์ไฟฟ้าเกียร์เดียว ตามลำดับ

 

      จากสมการที่ 2.55 เวลาที่ทำให้เกิดความเร่ง (ta) และระยะทาง (sa) จากความเร็วต่ำ (V1) ไปถึงความเร็วสูง (V2) สามารถเขียนเป็นสมการตามลำดับได้ดังนี้

 

 

รูปสมการที่ 2.58 และ 2.59

 

      ในสมการ 2.58 และ 2.59 แรงบิดของต้นกำลัง (Tp) คือฟังชันก์ของความเร็ว ซึ่งจะเป็นฟังชันก์ของความเร็วรถ (สมการ 2.23 และ 2.37) และอัตราทดของเกียร์ส่งกำลัง

 

      การใช้สมการ 2.58 และ 2.59 จากการคำนวณโดยใช้สมาการแบบนี้ มักมีความยุ่งยากที่จะวิเคราะห์ในการแก้ปัญหา ดังนั้น จึงนิยมการใช้วิธีเชิงตัวเลขแทน

      สองรูปด้านล่าง แสดงให้เห็นถึงเวลาความเร่ง กับระยะทาง พร้อมกับความเร็วของยานยนต์ ที่ใช้เครื่องยนต์แก๊สโซลีน และ มอเตอร์ไฟฟ้าตามลำดับ

 

 

รูปตัวอย่างของกราฟเวลาความเร่ง และระยะทาง กับความเร็วยานยนต์ที่เป็นต้นกำลังเครื่องยนต์แก๊สโซลีนในรถยนนั่งส่วนบุคคล

 

 

รูปตัวอย่างของกราฟเวลาความเร่ง และระยะทาง กับความเร็วยานยนต์ที่เป็นใช้มอเตอร์เป็นต้นกำลังในรถยนต์ไฟฟ้า

 

วิดีโอการทดสอบอัตราเร่งของรถยนต์นิสสันจีทีอาร์

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“ถ้าให้เพื่อนยืมเงิน ระวังจะเสียทั้งเงิน เสียทั้งเพื่อน และเสียทั้งใจ

เพราะฉะนั้น อย่าให้เงินใครยืม ถ้ามีก็ให้เขาไปเลย”

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา