บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,015
เมื่อวาน 1,634
สัปดาห์นี้ 7,245
สัปดาห์ก่อน 11,634
เดือนนี้ 35,480
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,379,977
  Your IP :3.144.109.5

2.7.2 ความสามารถไต่ทางชัน

 

 

รูปความสามารถในการไต่ขึ้นเนิน หรือทางชันของรถบรรทุก

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

      ความสามารถไต่ทางชัน (Gradeability) มักกำหนดเป็นทางเอียงชัน (มุมเอียง) ว่ารถสามารถเอาชนะมันขึ้นไปได้หรือไม่ กำหนดความเร็วให้มีค่าคงที่

 

      ยกตัวอย่างเช่น ความเร็วขณะที่ขึ้นทางชันที่ 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (60 ไมล์ต่อชั่วโมง) สำหรับรถในเชิงพาณิชย์ หรือรถยนต์ออฟโรด ความสามารถในการไต่ทางชันสูงสุด หรือมุมสูงสุดจะทำได้ ในช่วงค่าความเร็วหนึ่ง

 

 

รูปความสามารถในการไต่ขึ้นทางชัน

 

วิดีโอการแข่งขันรถยนต์ไต่ขึ้นทางชัน

 

      เมื่อรถยนต์ขับเคลื่อนอยู่บนถนนที่มีทางชันไม่มาก และรถยนต์มีความเร็วคงที่ แรงฉุดลาก กับความต้านทานจะสมดุลกัน ซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการได้ดังนี้

 

 

รูปสมการ 2.51, 2.52 และ 2.53

 

สมการเหล่านี้ จะถูกเรียกว่า ปัจจัยสมรรถนะ (Performance factor) ถ้ายานยนต์ขับเคลื่อนไปบนถนนที่มีทางลาดชันสูง ความสามารถในการไต่ทางชันสามารถคำนวณได้ดังนี้

 

 

รูปสมการที่ 2.54

 

ความสามารถในการไต่ทางชันของยานยนต์สามารถหาได้จากกราฟไดอะแกรมรูป ซึ่งหาได้จากกราฟการพล็อตแรงฉุดลาก กับความต้านทาน

 

 

รูปแรงฉุดลากของรถยนต์แก๊สโซลีนในเกียร์ต่าง ๆ (ซ้ำ)

 

 

รูปแรงฉุดลากในยานยนต์มอเตอร์ไฟฟ้า (ซ้ำ)

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

อัญเชิญพระบรมราโชวาทของในหลวง

 

“เมื่อจะเริ่มงานสิ่งใด ให้พยายามคิด พิจารณาให้เห็นจุดหมาย เห็นสาระและประโยชน์ ที่แท้จริงของงานนั้นอย่างแจ่มแจ้ง

          แล้วจึงลงมือทำด้วยความตั้งใจ มั่นใจ ด้วยความรับผิดชอบอย่างสูง ให้ดำเนินลุล่วงตลอดไปอย่างต่อเนื่อง โดยมิให้บกพร่องเสียหาย” 
    

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ 
มหาวิทยาลัยมหิดล 5 กรกฎาคม 2533  


ทรงพระเจริญ

 

 

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา