บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 301
เมื่อวาน 683
สัปดาห์นี้ 4,444
สัปดาห์ก่อน 11,188
เดือนนี้ 14,409
เดือนก่อน 61,209
ทั้งหมด 4,763,674
  Your IP :35.173.48.18

3) กระปุกเกียร์แปรผันต่อเนื่อง

 

 

รูปกระปุกเกียร์ซีวีที

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

      กระปุกเกียร์แปรผันต่อเนื่อง (Continuously Variable Transmission: CVT) มีอัตราทดเกียร์ที่เปลี่ยนไปอย่างต่อเนื่องในช่วงหนึ่ง จึงให้อัตราทดของเกียร์ไม่มีขีดจำกัด การเปลี่ยนแปรผันอย่างต่อเนื่องนี้ทำให้สามารถจับคู่ได้อย่างเหมาะสมในความเร็วรอบ และแรงบิดเครื่องยนต์ กับความเร็วรอบ และแรงบิดของล้อ

 

เพราะฉะนั้นมันเป็นไปได้ที่มันจะเข้าสู่แรงบิด-รอบในทางอุดมคติ (โดยที่กำลังงานคงที่) เพราะว่ากำลังงานขาออกของเครื่องยนต์ใด ๆ ต่อการส่งกำลังสามารถประยุกต์ได้ไปตามความเร็วรอบไปที่ล้อ

 

      โดยทั่วไปเกียร์แบบซีวีทีใช้ในรถยนต์ขนาดเล็กทั่วไป เพราะมันจะใช้การขับด้วยพูลเลย์ และสายพาน โดยพูลเลย์ข้างหนึ่งต่อเข้ากับเพลาด้านของเครื่องยนต์ ขณะที่พูลเลย์อีกข้าง ต่อเข้ากับเพลาขาออกที่ต่อเชื่อมไปที่ล้อ

 

 

รูปเกียร์แปรผันต่อเนื่องของรถยนต์ซูบารุ

 

 

รูปหลักการทำงานของเกียร์ซีวีที

 

      สายพานจะเชื่อมโยงกันสองพูลเลย์ ระยะห่างระหว่างสองพูลเลย์สามารถเปลี่ยนแปลงไปได้ เส้นผ่านศูนย์กลางพูลเลย์เปลี่ยนแปลงได้จากการเข้าไปจับสายพาน อัตราส่วนการส่งกำลังจะขึ้นอยู่กับฟังชันก์ผลของเส้นผ่านศูนย์กลางพูลเลย์ทั้งสองที่เปลี่ยนแปลงไป โดยอัตราส่วนจะเป็นดังนี้

 

ig = D2/D1                             (2.48)

 

กำหนดให้ ig = อัตราทดการส่งกำลัง

              D1 = เส้นผ่านศูนย์กลางของพูลเลย์ขาออกไปที่ล้อ (mm)

              D2 = เส้นผ่านศูนย์กลางของพูลเลย์ขาเข้ามาจากเครื่องยนต์ (mm)

 

จนกระทั่งเมื่อเร็ว ๆ นี้ การทำงานเคยได้รับผลของการสัมผัสสายพาน กับพูลเลย์ที่จำกัด มีการปรับปรุงด้านการออกแบบให้มีการใช้สายพานที่เป็นโลหะ ที่มีความคงทน และถูกปรับปรุงให้มีหน้าสัมผัสดียิ่งขึ้น นอกจากนี้แนวคิดได้ถูกพัฒนาจนสามารถนำมาใช้จริงโดยนิสสัน (Nissan)

 

 

รูปเกียร์ซีวีทีของรถยนต์นิสสัน

 

      แนวคิดนี้ใช้เกียร์ที่มีแรงเสียดทานสามจุด คือ หนึ่ง เชื่อมต่อกับเพลาเครื่องยนต์ อีกจุดก็เชื่อมต่อกับเพลาด้านขาออก ขณะที่เกียร์สามจับไปที่จับรายละเอียดเฉพาะของสองเกียร์อื่น ๆ มันสามารถหมุนจับในเส้นผ่านศูนย์กลางที่เปลี่ยนแปลงแตกต่างกันไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงเป็นที่มาที่ประสบความสำเร็จของอัตราทดเกียร์ผันแปร

 

วิดีโอหลักการทำงานของเกียร์ซีวีที

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“คนที่มีความพยายามเท่านั้น

                        จึงจะประสบความสำเร็จ”

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา