3.8.2 วิศวกรรมซอฟแวร์
วิศวกรรมซอฟแวร์ (Software engineering) ที่เกี่ยวข้องในงานแมคาทรอนิกส์ ในรูปแบบของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และกระบวนการ มีอยู่สองวิธีพื้นฐานที่ใช้กับกระบวนการ แต่สร้างได้อีกหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับวิธีการเหล่านี้
หนึ่งในนั้นเรียกว่า วิธีการแบบน้ำตก (Water fall method) ที่ซึ่งกระบวนการเคลื่อนที่ (ตก) จากเฟสหนึ่งไปอีกเฟสหนึ่งคล้ายกับน้ำที่ตกลงมาจากหน้าผาเป็นลำดับชั้น เช่น การวิเคราะห์เพื่อการออกแบบ ด้วยการเช็คจุดไปพร้อมกัน
รูปตัวอย่างของวิธีการน้ำตก
แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window
อีกวิธีหนึ่งก็คือ วิธีการก้นแบบหอย (Spiral method) มักจะถูกนำมาใช้ เมื่อสิ่งที่ต้องการให้เป็นไม่ได้ดังตั้งใจ ในวิธีการนี้จะมีการสร้างต้นแบบ ที่ลูกค้า และ/ หรือ วิศวกรระบบ ให้สามารถปรับแต่งตามความต้องการของข้อมูลที่เพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบ จนกลายเป็นที่รู้จักกัน
รูปตัวอย่างวิธีการแบบก้นหอย
ในวิธีการทั้งสองนี้ หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง ครั้งหนึ่งเคยเป็นที่ต้องการสำหรับนำมาใช้ในส่วนของซอฟแวร์ของระบบแมคาทรอนิกส์ ถูกนำมาทำเป็นเอกสาร
วิศวกรซอฟแวร์จะส่งเสริมการทำงาน ในส่วนที่เป็นการออกแบบซอฟแวร์ ซึ่งสามารถเป็นดัชนีชี้วัดค่าต่าง ๆ ได้ เช่น เวลาในการพัฒนา, ค่าใช้จ่ายในการพัฒนา, การใช้หน่วยความจำ โดยผ่านการคาดการณ์ และบันทึก
ต้นแบบการวัดวุฒิภาวะความสามารถในการทำงานของสถาบันวิศวกรรมซอฟแวร์ (Software Engineering Institute’s Capability Maturity Model: SEI CMM) สามารถยกระดับจนนำไปใช้เป็นแนวทาง แต่ในความเป็นจริงเป็นที่แน่ชัดว่า ซอฟแวร์มักจะไม่เคยได้รับการพัฒนาได้อย่างง่ายดาย และระบบ ยังคงอยู่กับที่ มีระดับความสมบูรณ์อยู่ของซอฟวร์แวร์อยู่ประมาณ 90% สำหรับในการพัฒนานำมาใช้ในวงจรวัฏจักรส่วนใหญ่
รูปลักษณะของต้นแบบการวัดวุฒิภาวะความสามารถ
แนวทางแก้ปัญหา มีความพยายามที่จะแก้ปัญหาเหล่านี้ โดยมอบหมายให้วิศวกรซอฟแวร์ที่อยู่ในโครงการ แต่มักจะไม่ได้ผลเสมอไป ปัญหาหนึ่งเป็นเพราะว่า มีการเรียนรู้ใหม่ ๆ เกิดขึ้นเสมอ
ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก
“การพูดไม่คิด
จะทำให้คนใกล้ชิด
หายไปทีละคน”
|