3.7.3 ระบบย่อยขาเข้า- ขาออกของไมโครคอนโทรลเลอร์ เฮชซี 12
มีอยู่สี่ระบบย่อยในขาเข้า-ขาออก ตัวอย่างในอุปกรณ์ ไมโครคอนโทรลเลอร์โมโตโรล่า เฮชซี 12 (Motorola HC12 microcontroller) ที่สามารถนำมาใช้เพื่อเป็นตัวอย่างในการส่งข้อมูลข้างต้น
รูปไมโครคอนโทรลเลอร์โมโตโรล่า เฮชซี 12
แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window
เป็นการอินเตอร์เฟสร่วมกันของการสื่อสารแบบอนุกรม หรือเอสซีไอ (Serial Communications Interface: SCI) เป็นอุปกรณ์อนุกรมภาระต่างเวลากัน (Asynchronous serial device) บนเฮชซี 12 มันสามารถสำรวจ หรือขัดจังหวะการขับเคลื่อน และมีไว้สำหรับการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ระยะไกล ที่เกี่ยวข้องกับเอสซีไอคือ การอินเตอร์เฟสร่วมกันของอุปกรณ์ต่อพ่วงอนุกรม หรือเอสพีไอ (Serial Perpheral Interface: SPI)
เอสพีไอ เป็นอินเตอร์เฟสแบบอนุกรมตรงกัน มันมีไว้สำหรับการติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงานที่รองรับเอสพีไอ เช่นเครือข่ายของไมโครคอนโทรลเลอร์ที่หลากหลาย เนื่องจากการประสานงานกันของจังหวะที่จำเป็น เอสพีไอใช้ระบบของความสัมพันธ์หลัก /รอง (Master / slave) ระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์
ระบบย่อยการปรับความกว้างพัลส์ หรือพีดับเบิลยูเอ็ม (Pulse Width Modulation: PWM) มักจะถูกนำมาใช้ในงานมอเตอร์ และควบคุมโซลินอยด์ โดยใช้การรีจีสเตอร์แผนที่ในทั้งหน่วยพีดับเบิลยูเอ็ม และไมโครโปรเซสเซอร์ทั้งคู่
เมื่อขาออกของพีดับเบิลยูได้รับคำสั่งโดยการตั้งค่าสำหรับคาบ และวัฏจักรทำงานในรีจีสเตอร์ที่เหมาะสม นี้จะส่งผลโดยเฉพาะอย่างยิ่งคำสั่งแรงดันไฟฟ้าในเวลา (On-time) และนอกเวลา (Off-time)
สุดท้าย ดีบักในวงจรอนุกรม (Serial in-circuit debugger: SDI) ช่วยให้ไมโครคอนโทรลเลอร์เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์พีซีได้ เพื่อใช้สำหรับการตรวจสอบ และปรับเปลี่ยนซอฟแวร์แบบฝังตัว
ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก
4 อย่า
“อย่าทิ้ง คนที่ร่วมสู้ อยู่เคียงข้าง
อย่าลืมคน ที่ช่วยสร้าง ทางที่ยิ่งใหญ่
อย่าละเลย คน ที่เคยมีน้ำใจ
อย่าลืม เป็นผู้ให้ เมื่อได้ดี”
|