บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,260
เมื่อวาน 1,522
สัปดาห์นี้ 2,782
สัปดาห์ก่อน 12,965
เดือนนี้ 43,982
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,388,479
  Your IP :18.217.208.72

3.7.2 การส่งผ่านขาเข้า และขาออก

 

      ทันทีที่ขาเข้า หรือขาออกพร้อมที่จะส่ง ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบที่สามารถใช้งานได้ อย่างแรก ข้อมูลสามารถเคลื่อนย้ายในโหมดแบบขนาน (Parallel mode) หรือแบบอนุกรม (Serial mode) ได้

 

รูปตัวอย่างการส่งข้อมูลในบัสแบบอนุกรม และขนาน

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

โหมดขนาน หมายถึง การที่มีบิตหลากหลาย เช่น 16 บิต, 32 บิต เคลื่อนที่ในแบบคู่ขนานมีหลากหลายบัส หรือทางเดิน จากต้นทางไปยังปลายทาง

 

ส่วนในโหมดอนุกรม หมายถึง บิต เคลื่อนที่ได้ทีละครั้ง ในอนุกรมจะเป็นเส้นทางเดินเดียว

 

ซึ่งแน่นอนการจราจรทางด้านโหมดขนานจะเร็วกว่า ในการที่บิตจำนวนมากมายสามารถเคลื่อนที่ไปพร้อมกัน แต่ทว่าจำนวนของบัสทางเดินก็เป็นปัจจัยที่จำกัด

 

      ด้วยเหตุนี้ โหมดขนานมักจะใช้สำหรับส่วนประกอบที่อยู่ใกล้ ๆ กัน ในขณะที่ในส่วนของอนุกรมการส่งจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้ระยะทาง

 

      นอกจากนี้ การส่งข้อมูลแบบอนุกรม ยังสามารถทำให้เกิดความแตกต่างโดยเป็นแบบ ไม่ตรงกัน หรือ อะซิงโครนัส (Asynchronous) กับ การตรงกัน หรือซิงโครนัส (Synchronous)

 

การส่งข้อมูลไม่ตรงกันจะใช้จังหวะที่แยกจากกันระหว่างผู้รับ และผู้ส่งข้อมูล หากจังหวะเหล่านี้จะไม่ตรงกัน จะเกิดบิตที่เพิ่ม ที่เรียกว่า บิตเริ่มต้น (Start) และหยุด (Stop) จะต้องกำหนดขอบเขตไบต์ที่ส่งไป การส่งข้อมูลแบบซิงโครนัสมักใช้ทั่วไป หรือแหล่งที่มาถูกกำหนดเวลาที่ตรงกัน บิตเริ่มต้น และหยุดไม่จำเป็น และสามารถส่งข้อมูลโดยรวมเพิ่มขึ้น

 

      วิธีที่สามของของความแตกต่างในการส่งข้อมูลกำหนดโดยทิศทาง ได้แก่ โหมดแบบทางเดียว(Simplex mode) คือการมีเส้นทางเดินเพียงเส้นทางเดียวเท่านั้น ข้อมูลที่ได้จากตัวตรวจจับส่งไปที่ไมโครคอนโทรลเลอร์ มักมีการใช้ในโหมดแบบทางเดียว

 

 

รูปโหมดแบบทางเดียว

 

โหมดแบบสองทิศทางสลับกัน (Half-duplex mode) ช่วยในการจราจรของข้อมูลได้สองทิศทาง แต่ได้เพียงทีละทิศทางเดียวในการส่ง หรือรับแต่ละครั้ง นี้จึงมีความจำเป็นที่จะต้องควบคุมการไหลเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้การส่งข้อมูลเกิดความผิดพลาด

 

 

รูปโหมดแบบสองทิศทางสลับกัน

 

โหมดแบบสองทิศทางในเวลาเดียวกัน(Full-duplex mode) ช่วยให้การส่งข้อมูลส่งได้สองทิศทางในเวลาเดียวกัน

 

 

รูปโหมดแบบสองทิศทางในเวลาเดียวกัน

 

ความรู้เพิ่มเติม

 

      ข้อตกลงระหว่างหน่วยการส่ง และรับ เกี่ยวกับการส่งผ่านข้อมูล (รวมถึงความเร็วในการส่ง) รู้จักกันในชื่อ การกำหนดสัญญาณควบคุม (Handshaking)

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

บันได 4 ขั้นที่นำไปสู่ความสำเร็จ

บันไดขั้นที่ 1 จงเชื่อมั่นในสิ่งที่เราทำว่า สำเร็จ

บันไดขั้นที่ 2 ลงมือทำ ตามแผนที่วางเอาไว้

บันไดขั้นที่ 3 แน่วแน่ มุ่งมั่น ไม่ย่อท้อในการทำ

 

บันไดขั้นที่ 4 ทบทวน ปรับปรุงไปเรื่อย ๆ

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา