บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,179
เมื่อวาน 1,080
สัปดาห์นี้ 5,413
สัปดาห์ก่อน 15,976
เดือนนี้ 68,339
เดือนก่อน 47,501
ทั้งหมด 4,336,226
  Your IP :35.173.233.176

ตัวอย่างในยานยนต์

 

 

รูประบบป้องกันล้อล็อกตาย

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

      ตัวอย่างระบบแมคาทรอนิกส์ที่นำมาใช้ในยานยนต์ ที่เห็นได้ชัดนั่นก็คือ ระบบป้องกันล้อล็อกตาย (Antilock Braking System: ABS)

 

      ซึ่งมีติดตั้งอยู่ในรถยนต์มากมายในปัจจุบัน วัตถุประสงค์ของระบบประเภทนี้ก็คือ เพื่อป้องกันไม่ให้ล้อเกิดการล็อกตาย จากการเบรกที่กะทันหัน จนอาจทำให้คนขับสูญเสียสภาพการควบคุมทิศทางของยานยนต์เนื่องจากการลื่นไถล แล้วเกิดอุบัติเหตุขึ้นได้

 

 

รูปการเบรกกะทันหันเทียบกันระหว่างรถยนต์ที่มีระบบเบรกเอบีเอส และไม่มี

 

                ในกรณีนี้ ตัวตรวจจับจะถูกติดตั้งในแต่ละล้อเพื่อจับความเร็วคำนวณการหมุนของล้อ ข้อมูลเหล่านี้ อาจจะอยู่ในรูปแบบคลื่น หรือแรงดันไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา ข้อมูลถูกส่งไปที่ไมโครคอนโทรลเลอร์ ข้อมูลที่คำนวณได้จากเซ็นเซอร์จะส่งไปยังตำแหน่งเท้าเหยียบเบรก, ความเร็ว และการเลี้ยวพวงมาลัย

 

 

รูปผังการทำงานของระบบเบรกเอบีเอส

 

      หลังจากแปลงจากอนาล็อกไปเป็นดิจิตอล (ADC) หรือจับข้อมูลขาเข้าไปเป็นค่าตัวเลขดิจิตอลใน โปรแกรมที่ทำงานในไมโครโปรเซสเซอร์แล้ว จะคำนวณสิ่งที่จำเป็นต้องทำออกมา นี่คือสิ่งที่ซึ่ง คอมพิวเตอร์กับมนุษย์จะทำงานแบบอินเตอร์เฟซร่วมกัน (Human Computer: Interface: HCI) หรือมนุษย์กับเครื่องกลทำงานร่วมกัน (Human Machine Interface: HMI) เข้ามาเล่นโดยเอาความรู้สึกของผู้ใช้ต่อระบบการทำงาน

 

 

รูปตัวอย่างที่มนุษย์กับเครื่องจักรกล ยานยนต์ทำงานร่วมกัน

 

      การสอบเทียบระบบ สามารถปรับให้มีความตอบสนองต่อคนขับขณะขับขี่ได้ แน่นอนการหยุดรถโดยการเหยียบเบรกจะเป็นตัวกระตุ้นให้อุปกรณ์ทำงาน น่าสังเกตในตัวอย่างนี้ ยานยนต์จะหยุดเพราะว่าแรงจากระบบไฮดรอลิกส์จากการกดแป้นคันเบรก ไม่ว่าจะเป็นแบบดรัมเบรก หรือดิสก์เบรก ซึ่งเป็นหน้าที่ทางกลล้วน ๆ

 

      อื่น ๆ ในระบบเอบีเอส ซึ่งเป็นชุดอุปกรณ์ที่ฉลาด แล้วมันก็ไม่ได้เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานแบบโดดเดี่ยว (Stand-alone device) มันเป็นเพียงส่วนหนึ่งของระบบที่มีขนาดใหญ่ใน ยานยนต์ที่พร้อมกับการทำงานด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ที่หลากหลายทำงานผสมผสานกันไป พร้อมกับการทำงานร่วมกับเครือข่ายข้อมูลของยานยนต์

 

วิดีโอแอนิเมทชันแสดงการทำงานของระบบเบรกเอบีเอส

 

 

 

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“อยู่กับตัวเอง ให้ คิดบวก

อยู่กับพวกพ้อง ให้ เมตตา

อยู่กับปัญหา ให้ ลงมือแก้

อยู่กับพ่อแม่ ให้ กตัญญู

อยู่กับผู้รู้ ให้ ถ่อมตน

อยู่กับทุกคน ให้ ทำดี

 

อยู่กับโลกนี้ ให้ ปล่อยวาง”

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา