บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 541
เมื่อวาน 984
สัปดาห์นี้ 11,570
สัปดาห์ก่อน 29,853
เดือนนี้ 58,727
เดือนก่อน 65,987
ทั้งหมด 4,873,979
  Your IP :3.129.67.248

โปรโมทหนังสือ

 

ธาตุ (Elements)

 

รูปหน้าปกหนังสือ

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

สนใจหนังสือ และความรู้ของผู้เขียน

เรื่องอื่น ๆ มีทั้งโหลดได้ฟรี และราคาถูก นอกเหนือจากนี้ 

 

คลิก 

 

มีหนังสือ ธาตุ (Elements)

ทำเป็นเล่ม อีบุ๊ค เพื่อสนับสนุนเว็บไซต์

 

 

สามารถโหลดอ่านตัวอย่างก่อนซื้อได้เลยครับ ฟรี

หากผู้อ่านสนใจคลิกที่ชื่อสำนักพิมพ์

 

meb          Se-ed     Naiin 

 

1.6 ของผสม

 

       ของผสม (Mixtures) เป็นธาตุที่มีสองธาตุ หรือมากกว่า มาผสมกันทางกายภาพ แต่ไม่ได้เชื่อมโยงผสมกันทางเคมี จึงไม่ได้ผสมเป็นเนื้อเดียวกัน ผสมกันในรูปแบบง่าย ๆ ดูในรูป

 

 

รูปที่ 1.28 ทรายกับกรวดคือตัวอย่างง่าย ๆ ของของผสมที่เห็นได้ในชีวิตประจำวัน

ที่มา : https://i0.wp.com/noags.co.za

 

ในรูป ไม่มีพันธะทางเคมีระหว่างอะตอม หรือโมเลกุล เป็นการผสมกันทางกายภาพ แต่ไม่ใช่ทางเคมี

 

      ความแตกต่างระหว่างของผสม และสารประกอบ ของผสมสามารถแยกธาตุที่มันไม่ได้เชื่อมโยงกันทางเคมีออกจากกันได้ง่าย เช่น วิธีกรอง, คัดแยก ฯลฯ ในขณะที่ธาตุในสารประกอบเป็นการเชื่อมต่อกันทางเคมีไม่สามารถแยกได้ด้วยวิธีธรรมดา

 

 

สารคอลลอยด์

 

      สารคอลลอยด์ (Colloid) ส่วนผสมนี้มีอนุภาค และกระจุกที่กระจายตัวไม่เท่ากันซึ่งเล็กเกินกว่าจะมองเห็นได้ ตัวอย่างเช่น นมเป็นสารคอลลอยด์

 

 

รูปที่ 1.29 นมเป็นสารคอลลอยด์

ที่มา : https://ik.bebodywise.com

 

สารแขวนลอย

 

      สารแขวนลอย (Suspension) ของผสมประเภทนี้ประกอบด้วยอนุภาคขนาดใหญ่ของสารหนึ่งซึ่งลอยอยู่ในอีกสารหนึ่ง ตัวอย่างเช่น น้ำโคลนเป็นสารแขวนลอย

 

 

รูปที่ 1.30 โคลน และน้ำโคลน

ที่มา : https://images-wixmp-ed30a86b8c4ca887773594c2.wixmp.com

 

 

1.7 สารละลาย

 

      สารละลาย (Solutions) เป็นส่วนผสมชนิดพิเศษ การละลายค่อนข้างละเอียด เมื่อธาตุสองชนิดผสมกัน และกลายเป็นสารละลาย ธาตุตัวหนึ่งจะเป็น ตัวกดขี่ (Dictator) และอีกหนึ่งธาตุก็คือ ตัวถูกกดขึ่ (Submissive)

 

      วัสดุทำละลาย หรือตัวกดขี่รู้จักในทางวิชาการว่า ตัวทำละลาย (Solvent) ส่วนตัวถูกกระทำ หรือตัวถูกกดขี่ เรียกว่า ตัวถูกละลาย (Solute)

 

      ตัวกดขี่ จะทำการละลายสาร หรือธาตุอื่น ๆ จนเป็นสารละลาย จะพบได้ว่าตัวทำละลายอาจจะละลายไปพร้อมกัน หรือไม่ละลายไปพร้อมกันกับสารก็ได้

 

      ตัวทำละลายในสารละลายของเหลว สามารถละลายสารที่เป็นของแข็ง หรือของเหลวอย่างใดอย่างหนึ่ง ยกตัวอย่างเช่น น้ำเกลือ หรือน้ำเชื่อม หลังจากเกลือ หรือน้ำตาลละลายในน้ำแล้ว ก็จะมองออกยากกว่านั่นคือ น้ำ หรือน้ำเชื่อม หรือน้ำเกลือ น้ำเป็นของเหลวเป็นตัวทำละลาย ทำหน้าที่ละลายน้ำตาล หรือเกลือ  

 

 

 

      โดยทั่วไปแล้วสารละลาย กับตัวทำละลายจะมีความคล้ายคลึงกันมาก แต่สารบางชนิดจะมีความแตกต่างกันในรายละเอียดปลีกย่อย เมื่อนำไปทำปฏิกิริยากับตัวถูกละลาย แต่ก็ไม่เกินไปกว่าการนำไปใช้งาน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

 

“ยิ่งคุณทำงานหนักมากเพียงใด

คุณก็จะยิ่งยอมแพ้ได้ยากมากขึ้นเพียงนั้น

The harder you work, the harder it is to surrender.

Vince Lombardi

 

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                           หน้าต่อไป>                      

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา