บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 521
เมื่อวาน 984
สัปดาห์นี้ 11,550
สัปดาห์ก่อน 29,853
เดือนนี้ 58,707
เดือนก่อน 65,987
ทั้งหมด 4,873,959
  Your IP :3.145.59.244

โปรโมทหนังสือ

 

ธาตุ (Elements)

 

รูปหน้าปกหนังสือ

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

สนใจหนังสือ และความรู้ของผู้เขียน

เรื่องอื่น ๆ มีทั้งโหลดได้ฟรี และราคาถูก นอกเหนือจากนี้ 

 

คลิก 

 

มีหนังสือ ธาตุ (Elements)

ทำเป็นเล่ม อีบุ๊ค เพื่อสนับสนุนเว็บไซต์

 

 

สามารถโหลดอ่านตัวอย่างก่อนซื้อได้เลยครับ ฟรี

หากผู้อ่านสนใจคลิกที่ชื่อสำนักพิมพ์

 

meb          Se-ed     Naiin

1.5 สารประกอบ

 

      สารประกอบ คือธาตุที่เชื่อมต่อกันทางเคมีตั้งแต่สองธาตุขึ้นไปประกอบรวมกัน ดังนั้นสารประกอบจึงไม่ได้มาจากธาตุเดียว มันจะผสมกันอย่างน้อยสองธาตุอยู่ในตัวเดียวกัน

 

 

รูปที่ 1.20 ตัวอย่างสารประกอบเกิดจากการเชื่อมต่อกันทางเคมีของธาตุตั้งแต่สองธาตุขึ้นไป

ที่มา : http://www.kshitij-iitjee.com

 

 

      สารประกอบที่เชื่อมโยงกันทางเคมี ยากนักที่จะทำการแยกธาตุที่อยู่ภายในนั้นออกจากกัน เพราะจะเชื่อมต่อกันแบบถาวร

 

      ถ้าต้องการแยกธาตุ แต่ละธาตุออกจากกัน จะต้องมีปฏิกิริยาเคมีแบบพิเศษที่ทำให้สารประกอบเกิดการเปลี่ยนแปลง จึงสามารถแยกธาตุแต่ละธาตุออกมาได้

 

      ลักษณะหนึ่งที่น่าสนใจของสารประกอบ คือมันอาจมีลักษณะเฉพาะ กล่าวคือคุณสมบัติของสารประกอบจะเป็นไปตามคุณสมบัติของธาตุที่มาประกอบกัน เช่น เหล็กกำมะถัน ทำมาจากธาตุเหล็ก และธาตุกำมะถัน เหล็กเป็นสารที่เป็นแม่เหล็ก แต่กำมะถันไม่ใช่สารที่เป็นแม่เหล็ก

 

 

รูปที่ 1.21 ธาตุไฮโดรเจน กับออกซิเจนรวมตัวกันทางเคมีจนเป็นสารประกอบที่เรียกว่า น้ำ

ที่มา : http://www.chem1.com

 

      น้ำเป็นสารประกอบ ที่ประกอบไปด้วยธาตุของไฮโดรเจน และออกซิเจน สถานะปกติของธาตุทั้งคู่เป็นก๊าซ อย่างไรก็ตาม เมื่อเชื่อมต่อกันทางเคมี มันก็จะกลายเป็นน้ำ ที่สามารถใช้ดับไฟได้ ดูรูปด้านล่าง

 

      ธาตุโซเดียม และคลอไรด์ เมื่อผสมกันทางเคมี ผลที่ได้ก็คือเกลือแกง (โซเดียมคลอไรด์)

 

 

รูปที่ 1.24 แบบจำลองพันธะทางเคมีของ NaCl

ที่มา : http://krurenumas.files.wordpress.com

 

 

ในโซเดียม และคลอไรด์ เมื่อเป็นธาตุเดี่ยวโดยทั่วไปแล้วทั้งคู่จะมีพิษ

 

 

รูปที่ 1.26 ธาตุโซเดียม (Na)

ที่มา : http://www.webelements.com

 

 

รูปที่ 1.27 ก๊าซคลอรีน (Cl)

ที่มา : http://www.amazingrust.com

      โซเดียมมองดูบริสุทธิ์ สีออกเป็นโลหะคล้ายเงิน สามารถเผาไหม้ได้ ส่วนคลอไรด์เป็นแก๊สสีเขียว แก๊สพิษนี้สามารถฆ่าสิ่งมีชีวิตได้ แต่เมื่อนำสารสองชนิดมาผสมกันทางเคมีก็จะกลายเป็น เกลือแกง ซึ่งสามารถกินได้

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

 

“ความคิด ความเชื่อ ความรู้สึก

ของคนอื่น

เป็นสิ่งที่เราไม่สามารถควบคุมได้

จงปล่อยวาง และอยู่อย่างมีสติ”

 

 

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                           หน้าต่อไป>                      

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา