บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 575
เมื่อวาน 984
สัปดาห์นี้ 11,604
สัปดาห์ก่อน 29,853
เดือนนี้ 58,761
เดือนก่อน 65,987
ทั้งหมด 4,874,013
  Your IP :18.218.73.233

 

      ตอนนี้คงมีคำถาม แล้วจะต้องมีเงิน หรือสินทรัพย์เท่าไรล่ะ? เพื่อให้เพียงพอไปถึงขั้น เกิดอิสรภาพทางการเงินได้

 

 

รูปที่ 1.10 อิสรภาพ

ที่มา : https://tiercode.com

 

สนใจหนังสือ และความรู้ของผู้เขียน

เรื่องอื่น ๆ มีทั้งโหลดได้ฟรี และราคาถูก นอกเหนือจากนี้ 

 

คลิก 

 

มีหนังสือ สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom) 1

ทำเป็นเล่ม อีบุ๊ค เพื่อสนับสนุนเว็บไซต์

รูปหน้าปกหนังสือ

 

สามารถโหลดอ่านตัวอย่างก่อนซื้อได้เลยครับ ฟรี

หากผู้อ่านสนใจคลิกที่ชื่อสำนักพิมพ์

 

meb          Se-ed     Naiin       Ookbee       Bundanjai

 

 

      มีอยู่ 3 สิ่ง ที่ต้องพิจารณาในการดูว่า เราควรมีเงินเท่าไร  หากต้องการให้ชีวิตมีอิสรภาพทางการเงิน อันได้แก่

 

·       อายุ

·       ค่าใช้จ่ายที่ใช้ต่อเดือน

·       ความยืนยาวของชีวิต

 

1. อายุ (Age) คนที่ต้องการอิสรภาพทางการเงิน มีเงินใช้ไม่ขาดมือ แล้วยิ่งมีอายุน้อย ก็หมายความว่า เขา หรือเธอย่อมมีเวลาเก็บเงินได้มากกว่า คนที่มีอายุเยอะที่พึ่งคิดในเรื่องของอิสรภาพทางการเงิน

 

รูปที่ 1.11 การรู้จักออมแต่เด็ก

ที่มา: https://encrypted-tbn0.gstatic.com

 

2. ภาระค่าใช้จ่ายต่อเดือน (Monthly expenses) แยกเป็นค่าใช้จ่ายที่จำเป็น เช่น ค่าบ้าน, ค่าน้ำ, ค่าไฟ, ค่ากิน ฯลฯ

และค่าใช้จ่ายที่ฟุ่มเฟือย เช่น ไปเที่ยว, ซื้อของแบรนด์ดัง, มือถือเครื่องใหม่ ฯลฯ 

 

รูปที่ 1.12 ตัวอย่างภาระค่าใช้จ่ายรายเดือน

ที่มา: https://img.freepik.com

 

      ตัวอย่างที่กล่าวมาเหล่านี้ มันเป็นสิ่งที่จำเป็นที่จะต้องรู้ เพื่อที่สามารถวางแผนเรื่องรายรับ – รายจ่าย และสามารถทำการคำนวณว่า จะต้องมีเงินเท่าไหร่ให้พอที่จะใช้จ่ายในแต่ละเดือน

       

3. ความยืนยาวของชีวิต (Longevity) ที่น่าจะไปถึง  แน่นอน คนเราเกิดมาก็ต้องตาย ซึ่งเป็นสัจธรรมของชีวิต เราคงไม่รู้หรอกว่าจะมีอายุอีกนานแค่ไหน โดยเฉลี่ยของคนไทยทั่วไปก็ 80 – 85  ปี โดยประมาณ 

 

 

รูปที่ 1.13 ความยืนยาวของชีวิต

ที่มา: https://creazilla-store.fra1.digitaloceanspaces.com

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

 

“ไม่จำเป็นต้องทำครบทุกอย่าง

ทำเพียงแค่อย่างใดอย่างหนึ่ง

ก็มีความสุขแล้ว

You don't have to do everything.

Do just one already happy.

 

JOB BKK

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                           หน้าต่อไป>

 

 

 

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา