บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,413
เมื่อวาน 984
สัปดาห์นี้ 12,442
สัปดาห์ก่อน 29,853
เดือนนี้ 59,599
เดือนก่อน 65,987
ทั้งหมด 4,874,851
  Your IP :18.218.190.118

มาดูตัวอย่างกัน เราวัดความกว้างของเส้นผ่านศูนย์กลางวงกลมได้ 2 เมตร

 

 

รูปวงกลมเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 เมตร

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

หากสนใจหนังสือ อื่น ๆ นอกเหนือจากนี้ 

คลิก 

 

1 mm = 10-3m

เส้นผ่านศูนย์กลางวงกลม 2 m = 2 ´ 10-3m

 

ตัวอย่างเช่น ค่าความเร็วแสง ซึ่งเขียนได้เป็น 3 ´ 108 เมตร / วินาที หรือ 300,000,000 เมตร / วินาที (กล่าวคือ 3 แล้วตามหลังด้วยเลขศูนย์ 8 ตัว)

 

รูปแสงจากดวงดาว

ที่มา :  https://thumbs-prod.si-cdn.com

 

      การบวก และลบนั้นง่ายพอ ๆ กัน หากยังจำได้ว่า เลขชี้กำลังของตัวเลขทั้งสองนั้นเหมือนกันก่อนที่จะคำนวณ

 

ยกตัวอย่างเช่น สมมติว่าคุณต้องการมวลชองไฮโดรเจน ซึ่งประกอบไปด้วยโปรตอน และอิเล็กตรอน

 

รูปแบบจำลองอะตอม

ที่มา :  https://www.sciencenews.org

 

มวลของโปรตอน = 1.67262  ´ 10-27 kg

 

มวลของอิเล็กตรอน = 9  ´ 10-31 kg

                 = 0.0009  ´ 10-27 kg

 

มวลของไฮโดรเจน = 1.67262  ´ 10-27 kg + 0.0009  ´ 10-27 kg = 1.6735  ´ 10-27 kg

 

สังเกตว่า จำนวนนี้น้อยกว่ามวลของไฮโดรเจนที่ยกมาในตารางธาตุ เนื่องจากช่วงนั้นมีไอโซโทปเปอร์เซ็นต์เล็กน้อยที่มีอยู่ในไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ การอธิบายนี้จะได้กล่าวในภายหลัง

 

      เคล็ดลับอื่น ๆ เกี่ยวกับการใช้สัญลักษณ์ทางวิทยาศาสตร์ คือ เพื่อให้แน่ใจว่าตัวเลขที่ถูกจัดการนั้น อยู่ในหน่วยที่ถูกต้อง ยกตัวอย่างเช่น สมมติว่า เราต้องการคำนวณเวลาเดินทางที่ใช้แสงในการแพร่กระจายจากดวงอาทิตย์ไปถึงโลก เวลานี้ได้จากสูตรง่าย ๆ ดังนี้:

 

เวลาเดินทาง = ระยะเดินทาง / ความเร็ว

 

จากที่เราทราบ ความเร็วของแสงมีค่าเท่ากับ 3 ´ 108 เมตร / วินาที ระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงโลก เราจะเรียกว่า หน่วยดาราศาสตร์ (Astronomical Unit: AU)

 

 1 AU เทียบเท่ากับค่าประมาณ 1.5 ´ 108 กิโลเมตร (150,000,000 km)

 

จำไว้นิดนึงว่า ระยะทางมักจะแสดงออกมาให้เป็น กิโลเมตร ในขณะที่ความเร็วในตัวอย่างนี้ มีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาที เพื่อแก้ปัญหาในเวลาที่คุณต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่า หน่วยของระยะทางต้องตรงกับหน่วยความเร็วซึ่งต้องการให้เราแปลงกิโลเมตร เป็นเมตร เช่น

 

1 AU = 1.5 ´ 108 km = 1.5 ´ 1011 m

 

ดังนั้น

 

เวลาเดินทาง = ระยะเดินทาง / ความเร็ว

= (1.5´1011)/(3´108)

= (1.5/3) ´1011-8

= 0.5 ´ 103 s

= 8.3 min

 

 

รูประยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ ซึ่งแสงจากดวงอาทิตย์ใช้เวลาเดินทาง 8 นาที ก่อนจะมาถึงโลก

ที่มา :  https://3c1703fe8d.site.internapcdn.net

 

      ตัวอย่างนี้แสดงให้เห็นถึงหนึ่งในปัญหาใหญ่หลวงที่การเคลื่อนที่เกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล แสงใช้เวลาเดินทาง 8 นาทีในการเดินทางจากดวงอาทิตย์ ไปสู่โลก

 

บนโลก เราใช้การสื่อสารด้วยอิเล็กทรอนิกส์เกือบจะทันที เพราะระยะทางของเรามีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับพื้นที่

 

      สมมติว่าคุณเป็นนักบินอวกาศบนดาวอังคารซึ่งอยู่ห่างจากโลก 1.5 AU และใกล้สุดอยู่ที่ 0.5 AU และวงโคจรทำให้ดาวอังคารอยู่อีกฟากหนึ่งของดวงอาทิตย์ระยะทางห่างจากโลกจะเพิ่มเป็น 2.5 AU

     

      ในขณะนั้นก็เกิดอุบัติเหตุที่ดาวอังคาร และคุณสื่อสารด้วยวิทยุกลับมายังโลก เพื่อขอความช่วยเหลือ สัญญาณนั้นอาจใช้เวลาเดินทาง 4 – 20 นาที ที่จะส่งมาถึงโลก เมื่อสถานีที่โลกได้รับรายละเอียดแล้ว กว่าที่จะให้คำแนะนำแก้ปัญหาและส่งกลับไปยังดาวอังคาร เวลาการส่งก็หมดไปอีกหลายสิบนาที และถ้าสนทนากันไปมา ก็อาจกินเวลาไปเป็นชั่วโมงเลยทีเดียว

 

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“คนเราชอบวิ่งหาความมั่นคงในชีวิต

จนลืมไปว่า

ไม่มีอะไรที่แน่นอนในชีวิต (ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนอนิจจัง)”

 

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                     หน้าต่อไป>

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา