บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 598
เมื่อวาน 984
สัปดาห์นี้ 11,627
สัปดาห์ก่อน 29,853
เดือนนี้ 58,784
เดือนก่อน 65,987
ทั้งหมด 4,874,036
  Your IP :3.14.249.124

 

ตัวอย่าง ให้หาค่า R2 ในวงจรที่แสดงในรูปด้านล่าง

 

 

รูปตัวอย่าง

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

สนใจหนังสือ และความรู้ของผู้เขียน

เรื่องอื่น ๆ มีทั้งโหลดได้ฟรี และราคาถูก นอกเหนือจากนี้ 

 

คลิก 

 

มีหนังสือ ไฟฟ้า และ อิเล็กทรอนิกส์

Electrical & Electronics 1

ทำเป็นเล่ม อีบุ๊ค เพื่อสนับสนุนเว็บไซต์

รูปหน้าปกหนังสือ

 

สามารถโหลดอ่านตัวอย่างก่อนซื้อได้เลยครับ ฟรี

หากผู้อ่านสนใจ

คลิก

 

วิธีทำ

ข้อแรกให้แก้ปัญหาสำหรับกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน R1 และ R3 เพราะว่าแรงดันไฟฟ้ามันจะเหมือนกันในแต่ละสาขาของวงจรขนาน แต่ละสาขาแรงดันไฟฟ้าจะเท่ากับแหล่งจ่ายไฟ นั่นก็คือ 120 V

  

กำหนดให้ IR1 = ?; E R1 = 120 V; R1 = 1 kW = 1,000 W 

แทนค่าในสมการ

I R1 =  E R1/ R1

= 120/1000

= 0.12 A

กำหนดให้ IR1 = ?; E R1 = 120 V; R3 = 5,600 W = 1,000 W 

แทนค่าในสมการ

I R3 = E R3/ R3

= 120/5600

 

= 0.021 A

 

ในวงจรขนาน กระแสไฟฟ้ารวมจะเท่ากับผลรวมของกระแสในแต่ละสาขาย่อยที่แยกไป

 

กำหนดให้ IT = 0.200 A; IR1 = 0.120 A; IR2 = ? A; IR3 = 0.021 A

แทนค่าในสมการ

IT = IR1 + IR2 + IR3

0.200 = 0.120 + IR2 + 0.021

= 0.141 + IR2

IR2 = 0.200 – 0.141

= 0.059 A

ตัวต้านทาน R2 สามารถคำนวณด้วยการใช้กฎของโอห์ม

กำหนดให้ IR2 = 0.059 A; E R1 = 120 V; R2 = ?W

แทนค่าลงในสมการ

I R2 =  E R1/ R2

R2 = 120 V/0.059 A

= 2033.9 W                ตอบ

 

ตัวอย่าง ให้หากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน R3 ในวงจรในรูปด้านล่าง

 

 

รูปตัวอย่าง

 

อันดับแรกให้คำนวณหาความต้านทานเทียบเท่า (RA) ของตัวต้านทาน R1 และ R2

วิธีทำ

กำหนดให้ R1 = 1,000 W; R2 = 2,000 W; RA = ? W

แทนค่าลงในสมการ

 

รูปวิธีทำ

 

อันดับต่อมา ให้คำนวณหาความต้านทานเทียบเท่าที่ RB ของตัวต้านทาน R4, R5 และ R6

ขั้นแรก ให้หาความต้านทานอนุกรมรวม (Rs) ของตัวต้านทาน R5 และ R6

 

กำหนดให้ RS = ? W; R5 = 1,500 W; R6 = 3,300 W;

แทนค่าลงในสมการ

RS = R5 + R6

= 1,500 + 3,300 = 4800 W

กำหนดให้ R4 = 4,700 W; Rs = 4,800 W; RB = ? W

วิธีทำ

 

รูปวิธีทำ

 

วาดวงจรใหม่ แทนที่เทียบเท่า RA และ RB และหาค่าความต้านทานอนุกรมทั้งหมดของวงจรสมมูล ดูที่รูป

 

รูปการยุบรวมวงจรในตัวอย่าง

 

กำหนดให้ RT = ? W; RA = 666.67W; R3 = 5,600W; RB = 2,375.30 W 

RT = RA + R3 + RB

= 666.67W + 5,600W + 2,375.30 W

= 8,641.97 W

ตอนนี้ สามารถแก้ปัญหาสำหรับกระแสไฟฟ้ารวมผ่านวงจรสมมูลโดยการใช้กฏของโอห์ม

กำหนดให้ IT = ?; ET = 120V; RT = 8,641.97W;

IT = ET/ RT

= 120V/8,641.97W

= 0.0139 A = 13.9 mA

      ในวงจรอนุกรม กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านจะเท่ากันในวงจร เพราะฉะนั้น กระแสไฟฟ้ากำลังไหลผ่าน R3 จะเท่ากับกระแสไฟฟ้าโดยรวมในวงจร

IR3 =  IT

= 13.9 mA                 ตอบ

 

 

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“ไม่มีใคร

พรากสิ่งที่คุณมีอยู่ในตัวได้

และทุกคน

ล้วนมีศักยภาพที่ยังไม่ได้ใช้กันทั้งนั้น

Nobody can take away what you’ve got in yourself

and everybody has potential they haven’t used yet.

Warren Buffet

นักเขียนที่มีชื่อเสียงชาวอเมริกัน

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                    หน้าต่อไป>

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา