บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 145
เมื่อวาน 2,429
สัปดาห์นี้ 8,804
สัปดาห์ก่อน 11,634
เดือนนี้ 37,039
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,381,536
  Your IP :3.146.34.191

4.8 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม และขนาน

      การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม – ขนาน หรือเรียกอีกอย่างว่า การต่อวงจรแบบผสม ดูที่รูปด้านล่าง

 

 

รูปการต่อวงจรไฟฟ้าแบบผสม

ที่มา :  https://i.gifer.com

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

หากสนใจหนังสือ อื่น ๆ นอกเหนือจากนี้ 

คลิก 

 

      แสดงให้เห็นว่า วงจรอนุกรม-ขนานอย่างเรียบง่ายพร้อมตัวต้านทาน บอกให้ทราบว่า ที่เป็นมอเตอร์จะเป็นวงจรขนาน และหลอดไฟเป็นการต่อแบบอนุกรม

 

      ความต้านทานรวมสำหรับวงจรอนุกรมขนาน หรือวงจรผสมสามารถคำนวณโดยใช้สมการด้านล่าง ในช่วงวงจรที่เป็นอนุกรม

 

RT = R1 + R2 + R3 ... + Rn

 

และในช่วงวงจรที่เป็นขนาน

 

(1/RT) = (1/RT) + (1/R2) + (1/R3)...+ (1/Rn)

 

วงจรส่วนใหญ่ สามารถแบ่งได้เป็นวงจรแบบขนาน หรือแบบอนุกรม โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้

 

1.  คำนวณส่วนที่ขนานของวงจรก่อน เพื่อตรวจสอบความต้านทานเทียบเท่า

 

2. หากมีส่วนประกอบที่เป็นอนุกรมภายใน ส่วนขนานของวงจรกำหนดความต้านทานเทียบเท่าสำหรับส่วนอนุกรมชุดแรก

 

3. หลังจากกำหนดค่าความต้านทานที่เท่ากันแล้ว ให้เขียนวงจรใหม่แทนที่ค่าความเท่ากันสำหรับส่วนขนานของวงจร ยุบวงจรไปเรื่อย ๆนะ

 

4. ทำการคำนวณขั้นสุดท้าย

 

 

ตัวอย่าง: จงหาความต้านทานรวมในวงจรที่แสดงในรูปด้านล่าง ?

 

 

รูปตัวอย่างการคำนวณการต่อแบบผสม

 

วิธีทำ

ขั้นตอนแรก คือการกำหนดความต้านทานเทียบเท่า (RA) สำหรับ R2 และ R3

 

โจทย์กำหนดให้  RA = ? R2 = 50 W  R2 = 25 W

 

รูปวิธีทำ

 

วาดวงจรใหม่ แทนที่ความต้านทานที่เท่ากันสำหรับส่วนของวงจรขนาน ดูที่รูป

 

 

รูปการยุบรวมวงจรขนานในตัวอย่าง

 

ตอนนี้ เรามาพิจารณาความต้านทานในวงจรที่วาดใหม่เป็นวงจรอนุกรม

 

กำหนดให้ RT = ?; R1 = 20W; RA = 16.7 W; R4 = 30 W

แทนค่าในสมการ

RT = R1 + RA + R4

= 20 + 16.7 + 30

                        = 66.7 W                                        ตอบ

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“คนเรา

จะมีวันพรุ่งนี้

ได้อีกสักกี่วัน

แต่ที่สำคัญ

วันนี้เราทำดีที่สุด

แล้วหรือยัง?”

เพจ ที่ว่าการคำคม

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                    หน้าต่อไป>

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา