บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 960
เมื่อวาน 984
สัปดาห์นี้ 11,989
สัปดาห์ก่อน 29,853
เดือนนี้ 59,146
เดือนก่อน 65,987
ทั้งหมด 4,874,398
  Your IP :3.144.109.159

4.6 ตัวต้านทานต่อแบบอนุกรม

 

 

รูปวงจรอนุกรม

ที่มา : http://ykonline.yksd.com

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

หากสนใจหนังสือ อื่น ๆ นอกเหนือจากนี้ 

คลิก 

 

      วงจรอนุกรมประกอบด้วย โหลด หรือตัวต้านทานตั้งแต่สองตัว หรือมากกว่านั้น มีการวางสายไฟเป็นเส้นทางให้กระแสไฟฟ้าไหล การไหลของกระแสไฟฟ้าไหลจากขั้วบวกของแหล่งจ่ายไฟผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว ไปยังขั้วลบของแหล่งจ่ายแรงดัน มีเพียงเส้นเดียวเท่านั้น ที่กระแสไฟฟ้าจะไหลระหว่างจุดสองจุดในวงจรได้ วงจรเป็นวงจรอนุกรม

 

 

รูปการต่อวงจรอนุกรม

ที่มา : https://i.ytimg.com

 

      หากมีตัวต้านทานที่ต่อมากกว่านี้ในแบบอนุกรม จะเกิดความขัดกันมากขึ้น คือการไหลของกระแสไฟฟ้า ยิ่งมีกระแสการไหลมากเท่าไหร่ ความต้านทานในวงจรก็ยิ่งมีสูงขึ้นเท่านั้น กล่าวอีกนัยหนึ่ง เมื่อเพิ่มตัวต้านทานแบบอนุกรมในวงจร ความต้านทานในวงจรจะเพิ่มขึ้น ความต้านทานรวมในวงจรอนุกรม คือ ผลรวมของความต้านทานในแต่ละวงจร ซึ่งสามารถแสดงได้ดังนี้

 

            RT = R1 + R2 + R3 ... + Rn                  (4.1)

 

ตัวเลขที่ห้อยหมายถึง ตัวต้านทานในแต่ละตัวในวงจร Rn เป็นตัวต้านทานสุดท้ายเป็นผลรวมความต้านทานในวงจร

 

ตัวอย่าง ความต้านทานรวมของวงจรที่แสดงในรูปด้านล่าง  มีค่าเท่าไหร่

 

รูปตัวอย่างในวงจร

 

วิธีทำ ในรูปโจทย์กำหนดให้ R1= 10 W  , R2= 20 W , R3= 30 W  RT= ?

 

จากสมการ 4.1

 

RT = R1 + R2 + R3

 

แทนค่าตัวเลข ลงในสมการ 

 

= 10 W + 20 W + 30 W

= 60 W

 

ความต้านทานในวงจร มีค่า 60 โอห์ม         ตอบ  

 

 

ตัวอย่าง จงคำนวณหาความต้านทานโดยรวม ดังแสดงในวงจรในรูปด้านล่าง

 

รูปวงจรตัวอย่าง

 

วิธีทำ ในรูปโจทย์กำหนดให้ R1= 1 kW  , R2= 4.7 kW , R3= 3.9 kW , R4= 820 W , R5= 10 kW , RT= ?

  

จากสมการด้านล่าง

RT = R1 + R2 + R3 + R4 + R5

 

แทนค่าตัวเลขลงไปในสมการ

 

RT = 1 kW+ 4.7 kW + 3.9 kW + 0.82 kW+ 10 kW

= 1000 W + 4700 W + 3900 W + 820 W + 10000 W

                        = 20420 W                      ตอบ

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

การคิด คิดจากใหญ่ไปเล็ก

การทำ ทำจากเล็กไปใหญ่”

 

 

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                    หน้าต่อไป>

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา