บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,453
เมื่อวาน 984
สัปดาห์นี้ 12,482
สัปดาห์ก่อน 29,853
เดือนนี้ 59,639
เดือนก่อน 65,987
ทั้งหมด 4,874,891
  Your IP :18.227.114.218

      เมื่อมีผลึกบางชนิดถูกความดัน กระทำที่ตัวผลึก เช่น ผลึกควอทซ์ (Quartz), ดีเกลือโรเซล (Rochelle salts) หรือแบเรียมไททาเนต (Barium titanate)

 

 

รูปตัวอย่างผลึกควอทซ์

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

มันจะสร้างแรงดันไฟฟ้าขนาดเล็กขึ้นมา  นี้เป็นผลที่เรียกกันว่า ผลไฟฟ้าเพียซโซ (Piezoelectric effect)

 

 

รูปแสดงผลไฟฟ้าเพียซโซ

 

      ในตอนแรกก่อนที่ผลึกจะถูกกระทำด้วยความดัน ประจุลบ และบวก จะเกิดกระจายแบบสุ่มตลอดทั่วทั้งวัสดุผลึก และโดยรวมไม่มีประจุที่สามารถวัดค่าได้

 

      อย่างไรก็ตาม เมื่อความดันเกิดขึ้นกับผลึก อิเล็กตรอนจะออกจากด้านหนึ่งของวัสดุ และไปสะสมในด้านอื่น ๆ ของผลึก ประจุไฟฟ้าก็จะถูกสร้างขึ้นมาตราบใดที่ความดันยังคงอยู่

 

      แต่เมื่อเอาความดันออก ประจุก็จะกลับมาอยู่แบบกระจายตัวอีกครั้ง จึงไม่มีประจุโดยรวมอยู่ แรงดันไฟฟ้าที่เกิดขื้นจะมีขนาดเล็ก และจำเป็นจะต้องนำไปสู่ภาคขยายเพื่อสามารถนำไปใช้งานได้ การใช้งานของผลไฟฟ้าเพียซโซ อาทิเช่น ไมโครโฟนคริสตัล (Crystal microphones),

 

 

รูปการณ์ใช้งานของผลึกไฟฟ้าเพียซโซ

 

 

รูปไมโครโฟนผลึก

 

หัวอ่านแผ่นเสียง (Phonograph pickups (ตลับผลึก (Crystal cartridges))

 

 

รูปหัวอ่านแผ่นเสียง

 

และออสซิลเลเตอร์ที่มีความแม่นยำ (Precision oscillators) ดูที่รูปด้านล่าง

 

รูปตัวอย่างอุปกรณ์ออสซิลเลเตอร์เที่ยงตรง

 

 

 

รูปสัญลักษณ์ของผลึกไฟฟ้าเพียซโซ

 

      จากที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ สามารถเกิดแรงดันไฟฟ้าได้ และมันยังสามารถทำให้เกิดแบบตรงกันข้ามกันก็ได้ด้วย นั่นก็คือ แรงดันไฟฟ้า มีความสามารถที่จะใช้ในการสร้างให้เป็นแม่เหล็ก, เคมี, แสง, ความร้อน และความดันได้เช่นกัน

     

ความเป็นแม่เหล็ก สามารถพบเจอได้ในมอเตอร์, ลำโพง, โซลินอยด์ และรีเลย์

 

 

รูปตัวอย่างรีเลย์ที่ไฟฟ้าสามารถทำให้เกิดแรงของแม่เหล็กได้

 

เคมี สามารถสร้างผ่านอิเล็กโตรไลซิส และการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า (Electroplating)

 

 

รูปตัวอย่างไฟฟ้าทำให้เกิดงานทางเคมี คือการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า

 

แสง เห็นได้จาก หลอดไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงต่าง ๆ

 

รูปไฟฟ้าสามารถทำให้เกิดแสง จากการทำงานของหลอดไฟ

 

ความร้อน เห็นได้จากอุปกรณ์ให้ความร้อน เช่น เตารีด, หัวแร้งบัดกรี

 

 

รูปตัวอย่างไฟฟ้าที่ทำให้เกิดความร้อน ในหัวแร้งบัดกรี

 

และแรงดันไฟฟ้ายังสามารถนำไปใช้ เพื่อให้มีการโค้ง หรือการบิดเกลียวผลึก

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

ร่วมน้อมรำลึกถึง คำพ่อสอน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต

 

“แต่ละคนก็มีหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานของตน

ที่เรียกว่าอาชีพของตน

ถ้าทำดีก็เป็นสิ่งที่น่าชม และน่าปลาบปลื้มใจ

เป็นประโยชน์แก่ตัวเอง และถ้ากิจการที่ทำมีความเจริญในทางที่ดีที่ชอบก็ทำให้ส่วนรวมของชาติบ้านเมือง มีความก้าวหน้าด้วยดี”
    
พระราชดำรัส ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่คณะบุคคลต่าง ๆ 
ที่เข้าเฝ้า ฯ ถวายชัยมงคล

เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 
ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา  ๔ ธันวาคม ๒๕๑๘

 

ขอน้อมส่งพระองค์สู่สวรรคาลัย

ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                    หน้าต่อไป>

 

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา