บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 106
เมื่อวาน 1,871
สัปดาห์นี้ 6,211
สัปดาห์ก่อน 15,976
เดือนนี้ 69,137
เดือนก่อน 47,501
ทั้งหมด 4,337,024
  Your IP :35.175.236.44

 

      อิเล็กตรอนในเวเลนซ์เชลล์สามารถรับพลังงานได้ แล้วถ้าหากอิเล็กตรอนเหล่านั้นได้รับพลังงานอย่างเพียงพอจากแรงภายนอก พวกมันสามารถหลุดออกจากอะตอม แล้วกลายเป็นอิเล็กตรอนอิสระ มันมีการเคลื่อนที่แบบสุ่มจากอะตอมถึงอะตอม วัสดุที่มีจำนวนอิเล็กตรอนอิสระอยู่มาก เราเรียกว่า ตัวนำ (Conductors) ดูที่รูปด้านล่าง

 

รูปกราฟค่าการนำไฟฟ้าของวัสดุ

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

 

รูปวัสดุที่เป็นตัวนำ

 

เปรียบเทียบการนำไฟฟ้าของโลหะชนิดต่าง ๆ ที่ใช้เป็นตัวนำ บนแผนภูมิ เงิน, ทองแดง และทอง จะมีเวเลนซ์เท่ากับ 1 ดูที่รูปด้านล่าง

 

รูปเวเลนซ์ของทอง

 

รูปเวเลนซ์ของเงิน

 

 

รูปทองแดงที่มีเวเลนซ์เท่ากับ 1

 

ถึงอย่างไร เงินเป็นตัวนำที่ดีที่สุด เพราะว่ามันมีพันธะอิเล็กตรอนอิสระมากกว่า

 

 

      ฉนวน (Insulators) มีคุณสมบัติที่ตรงข้ามกับตัวนำ มันเป็นตัวป้องกันการไหลของไฟฟ้า ฉนวนมีความเสถียรโดยมันมีการดูดซับวาเลนซ์อิเล็กตรอนจากอะตอมอื่น เพื่อเติมเต็มเชลล์วาเลนซ์ของมัน จึงช่วยลดอิเล็กตรอนอิสระ

 

 

รูปตัวอย่างวัสดุที่เป็นฉนวน

 

 

รูปตัวอย่างตารางของวัสดุที่เป็นตัวนำ กึ่งตัวนำ และฉนวน

 

 

      ในบรรดาฉนวนทั่วไป ไมก้า (Mica) ถูกจัดว่าเป็นฉนวนที่ดีที่สุดเพราะว่ามันมีอิเล็กตรอนอิสระน้อยที่สุดในเชลล์วาเลนซ์ของมัน ฉนวนสมบูรณ์แบบจะมีอะตอมที่มีเชลล์วาเลนซ์เต็ม ซึ่งหมายความว่ามันไม่สามารถให้อิเล็กตรอนได้

 

 

รูปไมก้า

 

รูปตัวอย่างที่เอาไมก้ามาใช้เป็นฉนวนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

 

      ส่วนคุณสมบัติที่เป็นกึ่งกลางระหว่างตัวนำ และฉนวน นั่นก็คือ สารกึ่งตัวนำ (Semiconductors)

 

 

รูปตัวอย่างอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ

 

สารกึ่งตัวนำมันเป็นทั้งตัวนำที่ดี หรือไม่ก็ฉนวนที่ดี แต่มันมีความสำคัญ ก็เพราะพวกมันสามารถเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติการทำงานได้ เพื่อทำหน้าที่เป็นทั้งตัวนำ หรือฉนวน ตัวอย่างวัสดุของสารกึ่งตัวนำ ก็คือ ซิลิกอน (Silicon) และ เจอร์มันเนียม (Germanium)

 

 

รูปธาตุเจอร์มันเนียม

 

รูปธาตุซิลิกอน

 

      อะตอมที่มีจำนวนอิเล็กตรอน และโปรตอนเท่ากัน กล่าวได้ว่ามันมีความสมดุลทางระบบไฟฟ้า หากอะตอมสมดุลสามารถรับอิเล็กตรอนได้หนึ่ง หรือมากกว่าหนึ่งอิเล็กตรอน ก็คือมันไม่เกิดความสมดุล เกิดเป็นประจุลบที่เรียกว่า ไอออนลบ (Negative ion)

 

หากอะตอมสมดุลจะสูญเสียอิเล็กตรอนหนึ่ง หรือมากกว่าหนึ่งไป เกิดเป็นประจุบวก เรียกว่า ไอออนบวก (Positive ion)

 

กระบวนการดึงดูด หรือสูญเสียอิเล็กตรอน เราเรียกว่า ไอออนไนซ์ (Ionization) ไอออนไนซ์นี้มีความสำคัญต่อการไหลของกระแสไฟฟ้า

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“เวลาที่คุณใช้ไป อย่างมีความสุข

เวลานั้น ไม่สูญเปล่า”

John Lennon

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                    หน้าต่อไป>

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา