บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 545
เมื่อวาน 984
สัปดาห์นี้ 11,574
สัปดาห์ก่อน 29,853
เดือนนี้ 58,731
เดือนก่อน 65,987
ทั้งหมด 4,873,983
  Your IP :3.135.202.38

 

6.1 บทนำเข้าสู่ความรู้เรื่องมิเตอร์

 

        มิเตอร์เป็นวิธีการกระทำที่มองไม่เห็นของอิเล็กทรอนิกส์ สามารถตรวจจับ และวัดได้ เครื่องวัดที่ขาดไม่ได้ในการตรวจสอบการทำงานของวงจร มีสองประเภทของมิเตอร์

 

ประเภทแรกคือ มิเตอร์แบบอนาล็อก (Analog meter) ซึ่งใช้สเกลแบบเข็มเป็นตัวชี้วัด ดูที่รูปด้านล่าง

 

 

รูปมัลติมิเตอร์แบบอนาล็อก

ที่มา : https://sep.yimg.com

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

สนใจหนังสือ และความรู้ของผู้เขียน

เรื่องอื่น ๆ มีทั้งโหลดได้ฟรี และราคาถูก นอกเหนือจากนี้ 

 

คลิก 

 

มีหนังสือ ไฟฟ้า และ อิเล็กทรอนิกส์

Electrical & Electronics 1

ทำเป็นเล่ม อีบุ๊ค เพื่อสนับสนุนเว็บไซต์

รูปหน้าปกหนังสือ

 

สามารถโหลดอ่านตัวอย่างก่อนซื้อได้เลยครับ ฟรี

หากผู้อ่านสนใจ

คลิก

 

อีกประเภทหนึ่งก็คือ มัลติมิเตอร์แบบดิจิตอล (Digital meter) ซึ่งค่าที่วัดได้จะแสดงเป็นตัวเลขดิจิตอล ดูที่รูปด้านล่าง

 

 

รูปมัลติมิเตอร์แบบดิจิตอล

ที่มา: https://img.misterworker.com

 

      มัลติมิเตอร์แบบดิจิตอลสามารถอ่านได้ง่ายกว่า และให้ข้อมูลที่แม่นยำยิ่งขึ้นยิ่งกว่ามิเตอร์แบบอนาล็อก อย่างไรก็ตามมิเตอร์อนาล็อกก็ให้ผลการอ่านได้ดีขึ้นอย่างรวดเร็วในการเปลี่ยนแปลงในกระแสไฟฟ้า หรือแรงดันไฟฟ้า

 

      มิเตอร์ส่วนใหญ่จะอยู่ในกล่องป้องกัน ขั้วต่อสายไฟของมิเตอร์มีไว้ต่อกับวงจร และต้องสังเกตด้วยว่าขั้วต่อกับวงจรแต่ละเส้นต้องเชื่อมต่อวัดกันอย่างเหมาะสม ขั้วสายสีแดงมีค่าเป็นบวก และขั้วสายสีดำเป็นค่าลบ

 

 

รูปการต่อมัลติมิเตอร์ให้ขั้ววัดถูกต้องกับวงจรที่จะวัด

ที่มา : https://neversaynoauto.com

 

      ก่อนที่จะใช้มิเตอร์แบบอนาล็อก ควรปรับค่าให้เป็นศูนย์ มีที่หมุนวัดขนาดเล็กตั้งอยู่ด้านหน้าของเครื่องวัดเพื่อใช้ในการปรับค่านี้ ดูที่รูปด้านล่าง

 

รูปตัวปรับค่าศูนย์ของมิเตอร์แบบเข็ม

ที่มา : https://jazercrisostomo.files.wordpress.com

 

หากต้องการให้มิเตอร์เป็นศูนย์ ให้วางมิเตอร์ในตำแหน่งที่จะใช้ หากเข็มไม่ชี้ไปที่เลขศูนย์ให้ใช้ไขควงหมุนสกรูจนกระทั่งเข็มตรงกับเลขศูนย์ ตอนปรับนี้ไม่ควรต่อเข้ากับวงจรที่จะวัด

 

 

 

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“ผู้ที่รู้สึกโดดเดี่ยวอ้างว้าง

เพราะว่าเขาสร้างกำแพง

แทนที่เขาจะสร้างสะพาน

People are lonely because

they build walls instead of briges.

Joseph F. Newton

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                    หน้าต่อไป>

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา