บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 2,390
เมื่อวาน 1,871
สัปดาห์นี้ 8,495
สัปดาห์ก่อน 15,976
เดือนนี้ 71,421
เดือนก่อน 47,501
ทั้งหมด 4,339,308
  Your IP :34.239.185.22

  2. ส่วนประกอบของทอร์ค คอนเวอร์เตอร์

 

 

รูปทอร์ค คอนเวอร์เตอร์

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

 

รูปภายในของทอร์ค คอนเวอร์เตอร์

 

วิดีโอทอร์ค คอนเวอร์เตอร์

ส่วนประกอบภายในของทอร์ค คอนเวอร์เตอร์ จะมีส่วนประกอบที่สำคัญ ดังนี้

 

  • อิมเพลเลอร์(Impeller) หรือปั๊ม (Pump)

 

 

รูปอิมเพลเลอร์

 

  • กังหัน หรือเทอร์ไบน์ (Turbine)

 

 

รูปเทอร์ไบน์

 

  • สเตเตอร์ (Stator)

 

 

รูปสเตเตอร์

 

  • ของไหลส่งกำลัง (Transmission fluid)

 

 

รูปของไหลส่งกำลัง

 

      ตัวเรือน (Housing) ของทอร์ค คอนเวอร์เตอร์ จะยึดติดกับล้อช่วยแรงของเครื่องยนต์ เพื่อที่ว่า มันจะสามารถหมุนไปพร้อมกับการทำงานของเครื่องยนต์

 

      ครีบ (Fins) ถูกสร้างขึ้นประกอบติดกับตัวปั๊มของทอร์ค ฯ ที่ติดกับตัวเรือน ดังนั้นพวกมันจะหมุนด้วยความเร็วรอบเดียวกันกับเครื่องยนต์

 

รูปภาคตัดด้านล่างเป็นส่วนประกอบของทอร์ค คอนเวอร์เตอร์

 

รูปส่วนประกอบของทอร์ค คอนเวอร์เตอร์

 

 

 

      ปั๊มอิมเพลเลอร์ที่อยู่ภายในทอร์ค ฯ เป็นปั๊มชนิด ปั๊มแรงเหวี่ยงหนีศูนย์ (Centrifugal pump) ในขณะที่มันหมุน ของไหลจะถูกเหวี่ยงออกไปด้านนอก ออกจากตัวของมัน ของไหลที่เหวี่ยงออกสู่ด้านนอกปั๊มนั้น ณ ที่จุดศูนย์กลางของมันจะเกิดสุญญากาศมากขึ้น มากพอที่สามารถดูดของไหลเข้าสู่ศูนย์กลางได้อีก

 

 

รูปส่วนประกอบของทอร์ค คอนเวอร์เตอร์

 

      ของไหลที่ออกมาจากปั๊มอิมเพลเลอร์ จะไหลเข้าสู่ใบพัดของเทอร์ไบน์ ซึ่งต่อโยงไปกับระบบส่งกำลัง ตัวเทอร์ไบน์ทำให้เกิดการหมุนส่งกำลัง ซึ่งสามารถทำให้รถยนต์เคลื่อนที่ได้ สามารถเห็นได้ตามภาพด้านล่าง ครีบเทอร์ไบน์ความโค้ง ซึ่งหมายความว่าของไหลจะเข้าสู่เทอร์ไบน์จากภายนอก และมีการเปลี่ยนแปลงทิศทางก่อนที่จะออกสู่ศูนย์กลางของเทอร์ไบน์ มันคือ การเปลี่ยนแปลงทิศทาง (Directional change) เป็นเหตุให้กังหันเทอร์ไบน์หมุน

 

      เพื่อที่จะเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ จำเป็นที่จะต้องใช้แรงที่วัตถุนั้นเป็นตัวช่วย ส่วนจะทำให้การหมุนออกมาในทิศทางตรงข้าม ก็จะมีอุปกรณ์มาเสริมการทำงานอีกที

 

 

รูปทิศทางการหมุนของปั๊มอิมเพลเลอร์

 

      ของไหลไหลออกจากเทอร์ไบน์ที่ศูนย์กลาง แล้วไหลเคลื่อนที่ไปในทิศทางที่แตกต่างกันกับที่เข้ามา ถ้ามองลูกศรในรูปด้านบน จะเห็นทางที่ของไหลไหลออก เทอร์ไบน์เคลื่อนที่ในทิศทางตรงกันข้ามกับปั๊มอิมเพลเลอร์ (และเครื่องยนต์ด้วย) มันเป็นการเปลี่ยนทิศทางหมุน

 

 

รูปการหมุนของเทอร์ไบน์จะมีทิศทางตรงกันข้ามกับปั๊ม และเครื่องยนต์

 

 

รูปทิศทางการหมุนของทอร์คฯ

 

      แต่ถ้าหากของไหลไหลย้อนกลับไปกระทบกับปั๊ม มันจะทำให้เครื่องยนต์หมุนชะลอตัวลง ทำให้เครื่องยนต์สูญเสียกำลังงาน นี้เป็นสาเหตุที่ว่าทำไมต้องมี สเตเตอร์ ซึ่งจะได้กล่าวในหัวข้อต่อไป

 

วิดีโอแอนิเมทชันการทำงานของทอร์ค คอนเวอร์เตอร์

 

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“ไม่ใช่ความทุกข์

ที่ทำให้เราคิดมาก

แต่เป็นเพราะเราคิดมาก

ทำให้เกิดความทุกข์”

 

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา