บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 65
เมื่อวาน 2,429
สัปดาห์นี้ 8,724
สัปดาห์ก่อน 11,634
เดือนนี้ 36,959
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,381,456
  Your IP :18.222.67.251

5.1.4 การช่วยหายใจ

 

1) หากผู้บาดเจ็บไม่ได้หายใจในทันที ให้ดำเนินการต่อจนกว่าเขาจะสามารถหายใจได้เองเป็นธรรมชาติ จากวิธีการเปิดทางเดินหายใจ หากต้องมีการช่วยการหายใจ ขอให้ใจเย็น คิดตัดสินใจ และทำอย่างเร็ว ถ้าทันการก็มีแนวโน้มเริ่มต้นที่จะสามารถเรียกคืนการหายใจจากผู้บาดเจ็บที่ไม่หายใจได้ 

 

 

รูปการใช้วิธี เมาส์-ทู-เมาส์

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

      หากสงสัยว่าผู้บาดเจ็บยังไม่เสีย และต้องการหายใจ ก็ให้ช่วยผายปอดให้หายใจ ต้องทำให้ถูกวิธี เพราะมันสามารถทำอันตรายต่อผู้บาดเจ็บได้ หากผู้บาดเจ็บหายใจ สามารถสังเกตได้จากความรู้สึก และสังเกตเห็นหน้าอกของเขาเคลื่อนไหวขึ้นลงได้ นอกจากนี้ ยังได้ยินการหายใจออกมา โดยอาจใช้มือ หรือหูเข้าไปอังที่จมูกของผู้บาดเจ็บ

 

 

รูปการใช้อุปกรณ์ช่วยในวิธีเมาส์-ทู-เมาส์

 

 

รูปการใช้อุปกรณ์ช่วยในวิธีเมาส์-ทู-เมาส์ 2

 

 

2) มีหลายวิธีของการช่วยให้เกิดการหายใจ วิธีการเมาส์-ทู-เมาส์ ก็เป็นวิธีหนึ่งที่สามารถนำมาใช้ได้ แต่ถึงอย่างไร วิธีนี้อาจไม่สามารถนำมาใช้ได้ทุกสถานการณ์ เช่น หากว่าผู้บาดเจ็บมีการหักของขากรรไกร หรือบาดเจ็บที่ปาก แล้วขากรรไกรของเขาถูกปิดสนิท หรือเคลื่อนไม่ได้ ก็ควรใช้วิธีการปากสู่จมูก หรือเมาส์-ทู-โน๊ส (Mouth-to-nose method)

 

 

รูปวิธีการเมาส์-ทู-โน๊ส

 

 

 

5.1.5 ขั้นตอนเบื้องต้น วิธีการช่วยหายใจ

 

1) หากผู้บาดเจ็บไม่ตอบสนอง เพราะสลบ และหยุดหายใจ ให้ความช่วยเหลือ ให้พิจารณาลักษณะการบาดเจ็บ และค่อย ๆ วางตำแหน่งผู้บาดเจ็บให้ถูกวิธี

 

2) ตรวจสอบการหายใจโดยการวางหูของคุณ วางใกล้ปาก หรือจมูกของผู้บาดเจ็บ และมองไปที่หน้าอกของเขา

 

      - มองสังเกตการณ์ขึ้นลงที่บริเวณหน้าอกของผู้บาดเจ็บ

 

 

 

รูปการมองหน้าอกคนบาดเจ็บว่าหายใจ หรือไม่

 

 

รูปดูว่ายังหายใจหรือไม่

 

      - ฟังเสียงการหายใจ

 

      - ใช้ความรู้สึกรับรู้ โดยใช้ใบหน้าตัวเองไปอังใกล้ ๆ บริเวณจมูกของผู้บาดเจ็บ ถ้าสังเกตเห็นหน้าอกไม่ขึ้นลง ไม่มีหายใจออกมา และผู้บาดเจ็บหยุดหายใจ (ขั้นตอนการประเมินผลนี้ควรใช้เวลาเพียง 3-5 วินาที) จากนั้นก็ให้ดำเนินการช่วยหายใจจากผู้บาดเจ็บไม่หายใจ

 

3) ให้ทำวิธีเปิดช่องทางเดินหายใจ

 

 

หมายเหตุ ถึงแม้ว่าการช่วยชีวิต จากวิธีการเปิดช่องทางเดินหายใจอาจสัมฤทธิ์ผล จนผู้บาดเจ็บสามารถหายใจเองได้แล้ว ควรเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง  เพื่อช่วยให้ยังคงการเปิดทางเดินหายใจ

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“ถ้าเรารู้สึกว่า สิ่งที่ทำลงไปเป็น
เหมือนกับเพียงน้ำหยดหนึ่ง ในมหาสมุทร
แต่มหาสมุทร คงจะมีน้ำน้อยลง
ถ้าขาดหยดนั้นไป”

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา