บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 472
เมื่อวาน 984
สัปดาห์นี้ 11,501
สัปดาห์ก่อน 29,853
เดือนนี้ 58,658
เดือนก่อน 65,987
ทั้งหมด 4,873,910
  Your IP :3.144.8.79

การนำไทเทเนียมไปใช้งาน

 

      ไทเทเนียม และไทเทเนียมผสม ถูกนำไปใช้ในส่วนประกอบของอากาศยานจำนวนมาก และงานที่ต้องการชิ้นงานที่มีความเบา ต้องมีความแข็งแกร่งที่อุณหภูมิ และที่ความเร็วสูง อาทิเช่น ใบพัดของเครื่องอัด (Compressor) ในเครื่องยนต์เจ็ทก็ทำมาจากไทเทเนียม

 

 

รูปใบพัดของเครื่องยนต์เทอร์ไบน์ทำมาจากไทเทเนียม

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

      ดูได้จากรูปด้านบน ใบพัดเหล่านี้ต้องทนทานความเค้นที่สูงมาก ๆ ในขณะที่อุณหภูมิเริ่มสูงขึ้น จำนวนมากของไทเทเนียมก็นำมาใช้ในการผลิตปีกของเครื่องบินขับไล่เช่นกัน

 

 

รูปปีกของเครื่องบินขับไล่ ทำมาจากไทเทเนียมผสม

 

ดูที่รูปด้านล่าง ผิวของปีกสามารถทนอุณหภูมิได้ถึง 150°C (300°F)

 

 

รูปส่วนของปีกของเครื่องบินขับไล่ F-22 ในระหว่างการประกอบ ปีก และโครงยึดมีน้ำหนักประมาณ 14 ตัน ส่วนประกอบเหล่านี้มากกว่า 40% เป็นไทเทเนียม

 

      ไทเทเนียมสามารถขึ้นรูปได้ง่ายเมื่อมันถูกให้ความร้อนขึ้นไปถึง 760°C (1400°F) วิธีการนี้นำมาใช้บ่อยในชิ้นส่วนโครงอากาศยานสำหรับเครื่องบินรบ อย่างไรก็ดี ไทเทเนียมจะเกิดปฏิกิริยาการต่อต้านกับอากาศ เมื่อมันร้อน ดังนั้นขั้นตอนการขึ้นรูปที่อุณหภูมิสูงต้องเกิดขึ้นในสภาวะสุญญากาศ หรือในแก๊สเฉื่อย (ปกคลุมชิ้นงาน) ในบรรยากาศ

 

      ไทเทเนียมก็สามารถเชื่อมได้เช่นกัน ในการเชื่อม ตัวเทไทเนียมมันจะต้องถูกปกคลุมแนวเชื่อมด้วยแก๊สเฉื่อย หรือต้องเชื่อมในสุญญากาศ การเชื่อมประสานด้วยลำแสงอิเล็กตรอนต้องทำในห้องสุญญากาศ จะเป็นวิธีการเชื่อมไทเทเนียมที่ดีมาก

 

มาดูตัวอย่างโครงสร้างที่ซับซ้อน สามารถขึ้นรูปในกระบวนการเชื่อมนี้ รูปด้านล่าง ไทเทเนียมแข็งแกร่งแต่มีน้ำหนักเบา

 

 

 

รูปนี้เป็นไทเทเนียมสนับสนุนเสียงดังออกแบบสำหรับเครื่องบินรบ F-35 ทำโดยการเชื่อมด้วยลำแสงอิเล็กตรอน

 

 

รูปตัวอย่างการเชื่อมงานด้วยลำแสงอิเล็กตรอน

 

วิดีโอการเชื่อมด้วยลำแสงอิเล็กตรอน

 

      ความแข็งแกร่งสูง และความหนาแน่นต่ำของไทเทเนียมทำให้โลหะมีความเหมาะสมสำหรับการใช้งานอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น โครงจักรยานไทเทเนียมเป็นงานนวัตกรรมทางวิศวกรรม ดูที่รูปด้านล่าง นี้เป็นการออกแบบที่ยอมให้โครงยังรักษาความแข็งแกร่งขณะที่มันมีน้ำหนักน้อย

 

 

 

รูปการออกแบบโครงจักรยานที่ทำมาจากไทเทเนียม

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“คนที่ทำงาน โดยไม่มีใจรักต่องานนั้น ๆ

แค่ทำเพราะอยากได้เงิน

มักจะไม่ค่อยได้เงิน

และไม่ค่อยมีความสุขกับชีวิตมากนัก”

 

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                    หน้าต่อไป>

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา