บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,479
เมื่อวาน 984
สัปดาห์นี้ 12,508
สัปดาห์ก่อน 29,853
เดือนนี้ 59,665
เดือนก่อน 65,987
ทั้งหมด 4,874,917
  Your IP :3.12.36.45

ภาค 1 โลหะวิทยาเบื้องต้น

 

บทที่ 1 การนำทฤษฏีโลหะไปใช้งาน

รูปโครงสร้างเฟอไรต์ ที่มีเพิลไลต์บางส่วน อัตราขยาย 700 เท่า

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

รูปโครงสร้างเพิลไลต์

รูป เหล็กหลอมจากเตาออกซิเจน เพื่อถลุงให้เป็นเหล็กกล้าบริสุทธิ์ ในรูป เตาสามารถจุเหล็กทำใช้หลอมได้ถึง 300 ตัน โดยใช้เวลาหลอมเพียง 40 นาที

 

1.1 โลหะวิทยา และนักโลหะวิทยา

 

       โลหะวิทยา (Metallurgy) หมายถึง ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับโลหะ ซึ่งอธิบายถึงวิธีการแยกแยะแบ่งประเภทโลหะ กรรมวิธีการทำสินแร่ให้เป็นโลหะบริสุทธิ์ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมความรู้แขนงนี้ถือเป็นหัวใจสำคัญในการศึกษาเกี่ยวกับโลหะต่าง ๆ นอกเหนือไปจากนี้ วิชาโลหะวิทยายังศึกษาเกี่ยวกับ คุณสมบัติพฤติกรรม และโครงสร้างภายในของโลหะ เมื่อศึกษาทำความเข้าใจเสร็จแล้ว ก็สามารถนำมาใช้ประยุกต์ได้ ผลที่ได้จะสามารถสร้างคุณสมบัติที่เหมาะสมของโลหะเพื่อนำไปใช้งานเฉพาะทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

        ผู้ที่ได้ทำการศึกษาวิชาทางโลหะ และมีอาชีพนี้เราจะเรียกว่า นักโลหะวิทยา (Metallurgists)” นักโลหะวิทยามีหน้าที่ ตรวจสอบเชิงลึกลงไปถึงระดับโครงสร้างภายในของโลหะ เพื่อทำความเข้าใจ ว่าทำไมโครงสร้างโลหะจึงเปลี่ยน เมื่ออยู่ภายใต้สภาวะของการให้ความร้อน หรือความเย็นได้

 

โลหะมีอยู่ 2 ประเภท ก็คือ

 

-โลหะที่เป็นเหล็ก (Ferrous metallurgy)เป็นการศึกษาโลหะที่มีเหล็กเป็นส่วนประกอบขั้นพื้นฐาน

 

โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก (Nonferrous metallurgy) เป็นการศึกษาโลหะที่ไม่ได้เป็นเหล็ก แต่จะเป็นธาตุโลหะอื่นๆ ผสมอยู่เป็นหลัก เช่น อลูมิเนียม,ไทเทเนียมทองแดง ฯลฯ

 

รูปแสดงการหลอมโลหะที่เป็นเหล็ก

 

      เหล็ก หรือเหล็กบริสุทธิ์ (Iron) และเหล็กกล้า (Steelเป็นส่วนประกอบส่วนใหญ่ของโลหะที่เป็นเหล็ก (เหล็กกล้าพื้นฐานก็คือ มันทำมาจากเหล็กแต่ผสมธาตุบางอย่างลงไป) ในการเพิ่มคุณสมบัติให้กับเหล็กนั้นมักจะเติมลงไปขณะที่มันกำลังถูกหลอมเหลวเป็นเหล็กหลอม โดยการเติมธาตุต่าง ๆ ลงไปในเหล็กหลอมเหลว เพื่อให้กลายเป็นเหล็กกล้า เพื่อปรับสภาพของเหล็ก และถูกนำไปใช้งานตามความต้องการ

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

 

จะลงมือทำอะไรก็ตาม ถ้าคิดว่าทำได้ นั่นคือได้รับความสำเร็จไปครึ่งหนึ่งแล้ว
                                                                        แต่ถ้าคิดว่าทำไม่ได้ นั่นคือล้มเหลวทั้งหมด

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา