บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 512
เมื่อวาน 984
สัปดาห์นี้ 11,541
สัปดาห์ก่อน 29,853
เดือนนี้ 58,698
เดือนก่อน 65,987
ทั้งหมด 4,873,950
  Your IP :18.118.144.98

บทที่ 6 การเคลื่อนที่วงกลม และการนำกฎของนิวตันไปใช้ในงานอื่น ๆ

 

      ในบทที่ผ่านมา เราได้รู้จักกฎของนิวตันในเบื้องต้น และสามารถนำไปประยุกต์ใช้งานการวิเคราะห์แบบจำลองที่เกี่ยวพันกับการเคลื่อนที่เชิงเส้น

 

 

รูปตัวอย่างการเคลื่อนที่แบบวงกลม

ที่มา : https://jkimphysics.files.wordpress.com

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

หากสนใจหนังสือ อื่น ๆ นอกเหนือจากนี้ 

คลิก 

 

      มาตอนนี้ เราจะได้เริ่มอธิบายการเคลื่อนที่ในส่วนของปลีกย่อย แต่มีความซับซ้อนมากกว่า ยกตัวอย่างเช่น เราจะประยุกต์ใช้กฎของนิวตันในการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบวงกลม

 

      ซึ่งเราจะอธิบายการเคลื่อนที่โดยมีความเร่งภายในกรอบอ้างอิงจากกรอบอ้างอิงความเร่ง หรือวัตถุ เคลื่อนที่ผ่านไปตามตัวกลางที่มีความหนืด

 

      บทนี้จะแสดงถึงองค์ประกอบของตัวอย่างเรียงลำดับกันไป เพื่อให้เห็นภาพ ในการที่จะสามารถนำไปประยุกต์การใช้งานตามของกฎของนิวตัน เพื่อความหลากหลายของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่

 

 

6.1 อนุภาคในแบบจำลองการเคลื่อนที่แบบวงกลมสม่ำเสมอ

 

      ในหัวข้อที่ 4.4 เราได้อธิบายเรื่องการวิเคราะห์แบบจำลองของอนุภาคในการเคลื่อนที่แบบวงกลมสม่ำเสมอ ซึ่งอนุภาคเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ v ในเส้นทางที่เป็นรัศมีวงกลม r ถ้าหากอนุภาคนั้นได้เจอกับความเร่ง จะมีสมการดังนี้

 

ac = v2/r

 

ความเร่งนี้ เรียกว่า ความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลาง (Centripetal acceleration) เพราะว่า เวกเตอร์ ac มิทิศทางไปสู่ศูนย์กลางของวงกลม

 

รูปความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลาง และสมการ

ที่มา : https://s2.studylib.net

 

      ยิ่งไปกว่านี้ เวกเตอร์ ac จะตั้งฉากกับเวกเตอร์ความเร็ว vเสมอ (หากมีส่วนประกอบของความเร่งขนานต่อเวกเตอร์ความเร็ว ความเร็วของอนุภาคจะเกิดการเปลี่ยนแปลง)

 

      เป็นเหตุให้เราขยายความรู้ของแบบจำลองอนุภาคที่เคลื่อนที่ในวงกลมสม่ำเสมอ นอกเหนือจากการจำลองการเคลื่อนที่จากหัวข้อ 4.4 โดยผนวกเอาแนวคิดเรื่องแรงลงไป

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“ไหน ๆ เราก็ต้องคิดอยู่แล้ว

ก็คิดให้ใหญ่เข้าไว้สิ

As long as you’re going to be thinking anyway,

think big.

โดนัลด์ ทรัมป์

(Donald Trump)

 

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                    หน้าต่อไป>

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา