ตัวอย่างที่ 5.13 ความเร่งของวัตถุสองตัวที่ผูกติดกันเมื่อมีแรงเสียดทาน
กล่องมีมวล m2 บนพื้นขรุขระ วางบนผิวแนวราบผูกเชือกต่อกับบอลที่มีมวล m1 โดยเชือกจะมีน้ำหนักเบากว่าน้ำหนักของวัตถุ ให้พูลเลย์ไม่มีแรงเสียดทาน ดังแสดงในรูปด้านล่าง
รูปตัวอย่างที่ 5.13 a) แรงภายนอก F ที่แสดงสามารถทำให้กล่องเกิดความเร่งไปทางขวา รูป b c เป็นผังไดอะแกรมที่แสดงแรงบนวัตถุทั้งสอง สมมติว่ากล่องมีความเร่งทางด้านขวา และบอลเลื่อนขึ้น
ที่มา : https://slideplayer.com
แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window
หากสนใจหนังสือ อื่น ๆ นอกเหนือจากนี้
คลิก
ขนาดแรง F ที่มุม q กับแนวนอนที่ทำกับกล่องในรูปที่แสดง และกล่องเลื่อนไปทางด้านขวา สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจลน์ระหว่างกล่อง และพื้นคือ mk จงคำนวณหาขนาดของความเร่งของวัตถุทั้งสอง
วิธีทำ
กรอบความคิด: รูปที่เกิดขึ้น F กระทำที่กล่อง สมมติว่า F ไม่มีค่ามากพอที่จะยกกล่องได้ กล่องสไลด์ไปทางด้านขวาง และลูกบอลยกขึ้น
แบ่งประเภทหมวดหมู่: เราสามารถระบุแรง และเราต้องการความเร่ง ดังนั้นเราแบ่งประเภทปัญหานี้ หนึ่งเกี่ยวข้องสองอนุภาคภายใต้แรงสุทธิ บอล และกล่อง
การวิเคราะห์: อันดับแรก ไดอะแกรมแรงดึง สำหรับสองวัตถุแสดงในรูปที่ b และ c สังเกตเชือกมีแรงตึงเชือกขนาด T ในวัตถุทั้งสอง แรง F มีองค์ประกอบ x และ y F cosq และ F sin q ตามลำดับ
เพราะว่าวัตถุทั้งสองเชื่อมต่อกัน เราสามารถเทียบขนาดขององค์ประกอบ x ของความเร่งของกล่อง และส่วนประกอบ y ของความเร่งของบอล และเรียกทั้งคู่ a สมมติเคลื่อนที่ไปด้านขวา
ใช้การจำลองอนุภาคภายใต้แรงกระทำ
1) SFx = F cosq – fk – T = m2ax = m2a
เพราะว่า กล่องเคลื่อนที่ไปในแนวราบเท่านั้น จำลองอนุภาคสมดุลต่อกล่องในทิศทางแนวดิ่ง
2) SFy = n + F sin q – m2a = 0
จำลองอนุภาคภายใต้แรงกระทำต่อลูกบอลในแนวดิ่ง
3) SFy = T – m1g = m1ay = m1a
แก้ปัญหาสมการ 2) สำหรับ n
n = m2a – F sin q
แทนค่า n ไปยัง fk = mkn จากสมการ 5.10
4) fk = mkn (m2g– F sin q)
แทนค่าสมการ 4) และค่าของ T จากสมการ 3) ไปยังสมการ 1)
แก้ปัญหาสำหรับ a
5) = ( F (cos q + mk sin q) – (m1 + mk m2)g) / (m1 + m2)
ท้ายสุด: การเร่งความเร็วของกล่องสามารถไปทางขวา หรือไปทางซ้ายขึ้นอยู่กับเครื่องหมายของตัวเศษ ในสมการ (5) หากการเคลื่อนที่อยู่ทางซ้าย เราจะต้องย้อนกลับสัญลักษณ์ของ fk ในสมการ (1) เพราะแรงเสียดทานจลน์ต้องตรงข้ามกับการเคลื่อนที่ของกล่องที่สัมพันธ์กันของพื้นผิว
ในกรณีนี้ ค่าของ a คือเหมือนกันกับสมการ (5) โดยที่เครื่องหมายบวกสองตัวในตัวเศษเปลี่ยนไปเป็นเครื่องหมายลบ
สมการ (5) จะลดลงหากแรง F ถูกลบออกไป และพื้นผิวไม่มีแรงเสียดทาน เรียกสมการ (6) การแสดงให้เห็นทางพีชคณิตนี้ตรงกับสัญชาตญาณของคุณเกี่ยวกับสถานการณ์ทางฟิสิกส์ในกรณีนี้หรือไม่?
ตอนนี้กลับไปที่ ตัวอย่าง 5.10 และให้มุม q ไปที่ศูนย์ในสมการ (6) ของตัวอย่างนั้น สมการที่เกิดขึ้นนั้นเปรียบเทียบกับสมการของคุณ (6) ในตัวอย่าง 5.13อย่างไร? การแสดงออกมาทางพีชคณิตควรเปรียบเทียบในลักษณะนี้โดยขึ้นอยู่กับสถานการณ์ทางฟิสิกส์หรือไม่?
ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก
“สิ่งที่ดีที่สุดหลาย ๆ อย่างในชีวิต
ล้วนเป็นสิ่งที่ฟรี
แต่คุณกลับ
ใช้เวลา และเงินมากมาย
เพื่อที่จะตามหามัน
The best things in life are free,
but you cost a lot of time and
money before you find it out.”
นิรนาม
<หน้าที่แล้ว สารบัญ หน้าต่อไป>