บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,447
เมื่อวาน 984
สัปดาห์นี้ 12,476
สัปดาห์ก่อน 29,853
เดือนนี้ 59,633
เดือนก่อน 65,987
ทั้งหมด 4,874,885
  Your IP :18.191.129.241

ตัวอย่างที่ 5.10  ความเร่งความเร็วของวัตถุสองตัวที่เชื่อมต่อกันด้วยเชือก

 

ลูกบอลมวล m1 และกล่องมวล m2 ต่อกันด้วยเชือกที่มีน้ำหนักเบามากคล้องผ่านรอกที่ไม่มีแรงเสียดทานมวลดูได้ที่รูป a

 

 

รูป a) วัตถุสองวัตถุต่อกันด้วยเชือกน้ำหนักเบาคล้องผ่านรอกที่ไม่มีแรงเสียดทาน b) ผังวัตถุอิสระของลูกบอล c) ผังวัตถุอิสระของกล่อง (พื้นเอียงไม่มีแรงเสียดทาน)

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

 กล่องตั้งอยู่บนพื้นเอียงมุม q ให้หาขนาดของความเร่งของวัตถุทั้งสอง และความตึงของสายเชือก

 

 วิธีทำ

 

กรอบความคิด: วัตถุในรูปด้านบน  ในการเคลื่อนที่ หาก m2 เคลื่อนที่ลงไปตามทางเอียง แล้ว m1 จะเคลื่อนที่ขึ้น เพราะวัตถุเชื่อมต่อกันโดยเชือก (ที่ไม่ยืด) ทำให้ความเร่งของพวกมันมีขนาดเท่ากัน

 

แบ่งประเภทหมวดหมู่: เราสามารถระบุแรงที่แต่ละตัวได้ของวัตถุทั้งสอง และเรากำลังมองหา ความเร่ง ดังนั้นเราแบ่งประเภทวัตถุออกเป็นอนุภาคที่อยู่ภายใต้แรงกระทำ

 

การวิเคราะห์: พิจารณาผังวัตถุอิสระที่แสดงในรูป 5.15b และ c

ใช้กฎข้อที่สองของนิวตัน ในรูปแบบองค์ประกอบที่ลูกบอล เลือกทิศทางขึ้นเป็นบวก

 

                                SFx= 0                     (1)

 

SFy= T – m1g = m1ay = m1a                (2)

 

สำหรับลูกบอลที่มีความเร่ง ไปข้างบน ก็คือความตึงเชือก T>m1g ในสมการที่ (2) เราแทน ay ด้วย a เพราะว่าความเร่งมีเพียงแนวทิศ y เท่านั้น

 

สำหรับกล่อง มันสะดวกในการเลือกบวก แกน x¢ ตามแนวเอียงในรูป c เพื่อให้สอดคล้องกับการเลือกของเราสำหรับบอล เราเลือกทิศทางบวก ที่ไหลไปตามแนวพื้นเอียง

 

ใช้กฎข้อที่สอง ของนิวตันในกล่อง

 

SFx¢=  m2gsinq – T= m2a x¢ = m2a                (3)

 

SFy¢=  n – m2gcosq  = 0                             (4)

 

ในสมการ (3) เราวาง a x¢ กับ a เพราะว่าวัตถุสองตัวมีความเร่งขนาดเท่ากันกับ a

 

แก้ปัญหาสมการ (2) หา T

     

                  T = m1(g + a)                       (5)

 

แทนค่า T ลงไปในสมการ (3)

 

m2gsinq – m1(g + a) = m2a     

 

 แก้สมการเพื่อหาค่า a

 

a = ((m2 sinq– m1)/( m1 + m2))g          (6)

 

แทนค่า a ไปยังสมการ (5) เพื่อหา T

 

T = ((m1m2 sinq+1)/( m1 + m2))g         (7)

 

ท้ายสุด: ความเร่งกล่องที่ไหลลงพื้นเอียงเพียงหาก m2sinq > m1 ถ้า m1> m2sinq ความเร่งขึ้นพื้นเอียงสำหรับกล่อง และเคลื่อนที่ลงคือลูกบอล นอกจากนี้สังเกตว่าผลสำหรับความเร่ง สมการ (6) สามารถตีความเป็นขนาดของแรงกระทำภายนอกกระทำบนระบบลูกบอล และกล่องหารด้วยมวลรวมของระบบ ผลนี้สอดคล้องกับกฎข้อที่สองของนิวตัน

 

 

 

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“ผมชอบคิดการใหญ่

ถ้าคุณคิดจะเริ่มทำอะไรก็ตาม

คุณก็อาจจะคิดการใหญ่ด้วยเหมือนกัน

I like thinking big.

If you’re going to be thinking anything,

you might as well THINK BIG.

Donald Trump

 

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                    หน้าต่อไป>

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา