5.1.1 เวกเตอร์ธรรมชาติของแรง
เราสามารถใช้ประโยชน์จากการเปลี่ยนรูปร่างไปของสปริง เพื่อมาทำการวัดแรงได้ โดยสมมติแรงในแนวดิ่งเป็นการใช้งานเพื่อใช้วัดเป็นสเกลสปริงที่ตรึงปลายบนดังในรูปด้านล่าง
รูปตัวอย่างตาชั่งสปริง
แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window
รูปเวกเตอร์ธรรมชาติของแรงที่ทดสอบด้วยสเกลสปริง
การยืดตัวของสปริงเมื่อมีแรงมากระทำ และเข็มชี้บนสเกลอ่านการยืดออกของสปริงได้ เราสามารถเปรียบเทียบสปริงโดยกำหนดแรงอ้างอิง F1 ซึ่งแรงนั่นทำให้เข็มชี้อ่านค่าได้ 1.00 cm แล้วถ้าหากเราประยุกต์ความแตกต่างในแรงที่ตกลงมาของแรง ที่ซึ่งขนาดเป็นสองเท่าของแรงที่อ้างอิง
แรง F2 ที่เห็นในรูปที่ 2 (จากซ้าย) เข็มชี้เคลื่อนที่ 2.00 cm ในรูปที่ 3 (จากซ้าย) แสดงผลว่ามีแรงมาเกาะเพิ่ม (F1 กับ F2) ทำให้ต้องผสมรวมกันของแรงที่ต่างกัน ซึ่งเป็นผลรวมของผลของแรงแต่ละที่
ทีนี้ ลองสมมติว่าแรงสองแรงกระทำขึ้นพร้อมกันด้วย F1 เคลื่อนลง และ F2 ไปทางแนวราบ ดูที่รูป 4 (จากซ้าย) ในกรณีนี้ เข็มชี้อ่านค่าได้ 2.24 cm ถ้าต้องการให้อ่านเป็นแรงลัพธ์ แรงเดี่ยว F ก็จะสร้างการอ่านค่าที่เหมือนกันให้เป็นผลรวมของเวกเตอร์สองเวกเตอร์ คือ F1 และ F2 พิจารณาที่รูป 4 (จากซ้าย) นั่นคือ
รูปสมการ
และทิศทางของมันคือ
q = tan-1 (-0.500) = -26.6°
เพราะว่าแรงเกี่ยวกับการทดลอง หากมีแรงเอียงไปในรูปร่างต่าง ๆ จะใช้วิธีรวมแรงย่อยเป็นหนึ่งแรง จะต้องใช้กฎของเวกเตอร์เพิ่มเติมเข้ามา เพื่อหาแรงสุทธิบนวัตถุ
รูปตาชั่งสปริง
รูปการใช้งานตาชั่งสปริง
ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก
“ไม่ว่าจะเป็นเพชร หรือเป็นถ่าน
ทั้งสองสิ่ง ก็มีคุณค่าในตัวมันเอง
เพชร ไม่สามารถทำหน้าที่แทนถ่านได้
และถ่าน ก็ไม่สามารถทำหน้าที่แทนเพชรได้ เช่นกัน”
|