บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 41
เมื่อวาน 2,429
สัปดาห์นี้ 8,700
สัปดาห์ก่อน 11,634
เดือนนี้ 36,935
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,381,432
  Your IP :3.129.39.55

      เราสามารถคำนวณ h โดยสังเกตที่จุดสูงสุดที่ความเร็ว vy = 0 เพราะฉะนั้น เราสามารถใช้องค์ประกอบของ y ของสมการที่ 4.8 เพื่อคำนวณหาเวลา t ที่ซึ่งการเคลื่อนที่วิถีโค้งไปสู่จุดสูงสุด

 

vyf = vyi + ayt

 

0 = vi sin qi – gtสูงสุด

 

tสูงสุด = vi sin qi/g

 

      สำหรับในค่าเวลา t สูงสุด สามารถนำไปยังส่วนของแกนวายของสมการที่ 4.9 และสามารถแทนที่ด้วย y = yสูงสุด พร้อมกับ h ซึ่งเราจะได้ค่าที่แสดงออกมาสำหรับ h ทั้งในส่วนของขนาด และทิศทางของเวกเตอร์ความเร็วเริ่มต้น

 

h = (vi sin qi)´( vi sin qi/g) – ½g(vi sin qi/g)2

 

h = (vi2 sin2 qi)/2g                        (4.12)

 

      ในระยะของ R คือตำแหน่งในแนวราบของการเคลื่อนที่วิถีโค้งที่เวลานั้นเป็นสองเท่าของเวลาที่อนุภาคขึ้นไปสู่จุดสูงสุด นั่นคือ เวลา

 

tR(ไกลสุด) = 2th(สูงสุด)

 

มีการใช้ส่วนประกอบในแนวแกนเอ็กซ์มาพิจารณาในสมการที่ 4.9 ให้สังเกตว่า vxi = vi cos qi และการกำหนดค่า x(ไกลสุด) = R ที่ t= 2th(สูงสุด) เราจะพบว่า

 

R = vxit(ไกลสุด)= (vi cos qi)2t(สูงสุด)

 

= (vi cos qi) (2vi sin qi/g)

 

= (2vi2 sin qi cos qi /g)

 

จะใช้รูปแบบของ sin 2q = 2sin q cos q (ซึ่งจะได้กล่าวในภาคผนวก) ทำให้เราสามารถเขียนสมการ R ในรูปแบบกะทัดรัดได้ ดังนี้

 

R = (vi2 sin 2qi)/g                         (4.13)

 

      ค่าสูงสุดของ R จากสมการที่ 4.13 คือ Rสูงสุด = vi2/g ผลนี้ทำให้รู้สึกได้ เพราะว่าค่าสูงสุดของ sin 2qi คือ 1 ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อ 2qi = 90° เพราะฉะนั้น R ที่เป็นค่าสูงสุด ก็ต่อเมื่อ qi = 45°  

   

 

รูปมุมต่าง ๆ ของการเคลื่อนที่แบบวิถีโค้งที่ทำให้เกิดความสูง และระยะทางในแนวราบต่างกัน

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

      ในรูปด้านบน เส้นวิถีโคจรต่าง ๆ สำหรับการเคลื่อนที่แบบวิถีโค้งที่มีความเร็วเริ่มต้นค่าหนึ่ง แต่ปล่อยออกไปในมุมที่แตกต่างกัน ดังที่เห็นในรูป ช่วงค่าสูงสุดอยู่ที่ qi = 45° (ได้ทั้งความสูง และระยะทางแนวราบ)

 

      นอกจากนี้ ในส่วนของมุม qi อื่น ๆ ที่มีค่ามาก หรือน้อยกว่า 45° จะสามารถกำหนดจุดเป็นพิกัดคาร์ทีเซียน (R,0) โดยสามารถเข้าถึงค่าหนึ่ง หรือสองค่าที่สมบูรณ์ของมุม qi เช่นปล่อยที่มุม 75° และ 15°

 

      แน่นอนที่ว่าค่าทั้งความสูง และค่าระยะทางในแนวราบจะไม่เท่ากัน ซึ่งเหล่านี้จะขึ้นอยู่กับมุมที่ปล่อยที่แตกต่างกันทั้งความสูงสุด และเวลาที่เสริมกันไป    

 

วิดีโออธิบายการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“ไม่มีใคร เด็ก เกินไป ที่จะประสบความสำเร็จ

และ

 

ไม่มีใคร แก่ เกินไป ที่จะเริ่มต้นใหม่”

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา