บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 184
เมื่อวาน 4,800
สัปดาห์นี้ 12,262
สัปดาห์ก่อน 12,965
เดือนนี้ 53,462
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,397,959
  Your IP :3.140.242.165

1.5 การประมาณขนาด และลำดับการคำนวณ

 

      ถ้ามีคนถามว่า ในดีวีดีบลูเรย์ภาพยนต์แผ่นหนึ่งจะมีจำนวนข้อมูลกี่บิต? แน่นอน แต่ละแผ่นไม่สามารถบอกได้อย่างแม่นยำได้ ก็เพราะว่าขนาดข้อมูลในแต่ละแผ่น แต่ก็สามารถประมาณค่าเอาได้ ซึ่งสามารถแสดงออกมาเป็นตัวเลขในทางวิทยาศาสตร์ การประมาณค่าอาจทำได้โดยการจัดเรียงลำดับข้อมูลที่มีความสำคัญ ซึ่งเป็นเลขยกกำลังสิบได้ดังต่อไปนี้

 

1. การแสดงตัวเลขในทางวิทยาศาสตร์ พร้อมกับการคูณเลขสิบ ซึ่งยกกำลังระหว่าง 1 - 10 แล้วก็แสดงหน่วย

1 ´ 10n หน่วย

 

2. ถ้าตัวคูณน้อยกว่า 3.162 (รากที่สองของสิบ: Ö10) ลำดับความสำคัญของตัวเลขจะเป็น กำลังของสิบในทางวิทยาศาสตร์ แต่ถ้าตัวคูณมีค่ามากกว่า 3.162 ลำดับของขนาดตัวเลขก็คือใหญ่กว่ากำลังของสิบในทางวิทยาศาสตร์

 

      เราใช้สัญลักษณ์ สำหรับลำดับของ ใช้ขั้นตอนข้างต้นในการตรวจสอบลำดับของขนาดดูได้จากตัวอย่างความยาวด้านล่าง:

 

0.0086 อยู่ในช่วง 10-2 m      0.0021 m อยู่ในช่วง 10-2 m     720 m อยู่ในช่วง 103

 

      โดยปกติ เมื่อมีประมาณการลำดับขนาด จะทำผลลัพธ์ออกมาให้มีความน่าเชื่อถือ ก็ให้อยู่ในรูปแบบ การคูณกับสิบ (´10) และยกกำลังอะไรก็ว่ากันไปตามขนาด ถ้าปริมาณเพิ่มขึ้นลำดับตัวเลขก็มากขึ้นไปด้วย ยกตัวอย่าง 103 = 1,000; 106 = 1,000,000; 1012 = 1,000,000,000,000 เป็นต้น

 

ตารางการแปลงสำหรับหน่วยเมตริก

 

เป็น

มิลลิ-

เป็น

เซนติ-

เป็น

เดซิ-

เป็น

เมตร, กรัม, ลิตร

เป็น

เดกา-

เป็น

เฮกโต-

เป็น

กิโล-

กิโล-

´106

´105

´104

´103

´102

´101

 

เฮกโต-

´105

´104

´103

´102

´101

 

´10-1

เดกา-

´104

´103

´102

´101

 

´10-1

´10-2

เมตร, กรัม, ลิตร

´103

´102

´101

 

´10-1

´10-2

´10-3

เดซิ-

´102

´101

 

´10-1

´10-2

´10-3

´10-4

เซนติ-

´101

 

´10-1

´10-2

´10-3

´10-4

´10-5

มิลลิ-

 

´10-1

´10-2

´10-3

´10-4

´10-5

´10-6

 

 

                เมื่อเกิดความผิดพลาด และค่าที่ไม่ถูกต้องขึ้น มักจะเกิดจากการคาดการณ์ตัวเลขที่ต่ำเกินไป  ยกตัวอย่างตัวเลขจำนวนหนึ่ง จะทำการคาดเดาค่อย ๆ สูงขึ้น เพื่อให้เกิดความถูกต้องมากยิ่งขึ้น ในการจัดการทางคณิตศาสตร์ ควรมีตัวเลขคาดการณ์ให้น้อยที่สุดจะดีกว่า ทำให้สามารถดูได้ง่ายอีกด้วย 

 

ตัวอย่างที่ 1.4 เราหายใจกันกี่ครั้ง ในชั่วชีวิตคนเราตั้งแต่เกิด จนกระทั่งตาย 

 

วิธีทำ

 

สมมติว่ามนุษย์คนหนึ่งมีอายุถึง 80 ปี ค่าเฉลี่ยจากการหายใจของคนภายใน 1 นาที จำนวนการหายใจในแต่ละคนจะมีความแตกต่างกัน อีกทั้งกิจกรรมแต่ละกิจกรรมปริมาณการหายใจก็จะแตกต่างกันด้วย ไม่ว่าจะเป็นการออกกำลังกาย, การนอนหลับ, โกรธ, สงบ และอื่น ๆ ดังนั้นเราจะทำการสมมติว่าใน 1 นาที จะมีการหายใจเฉลี่ยประมาณ 10 ครั้ง (ประมาณจากการทำกิจกรรมทั้งหมด แล้วหาค่าเฉลี่ย)    

 

ให้หาจำนวนประมาณของการหายใจในแต่ละปี ดังนี้

1 ปี ´ (365 วัน / 1 ปี) ´ (24 ชั่วโมง /1 วัน) ´ (60 นาที / 1 ชั่วโมง) = 525,600 นาที

 

 หาจำนวนของนาทีในการสมมติจำนวนอายุขัย 80 ปี

เมื่อมีอายุถึง 80 ปี จำนวนนาทีเท่ากับ 80 ปี ´ 525,600 นาที = 42,048,000 นาที

 

ดังนั้น การหายใจตลอดช่วงอายุขัย 80 ปี จะเท่ากับ

จำนวนของการหายใจมีค่าเท่ากับ (10 ครั้ง / นาที) ´ 42,048,000 นาที = 420,480,000 ครั้ง หรือประมาณ 4 ´ 108 ครั้ง

 

 

ดังนั้น คน ๆ หนึ่งที่มีอายุประมาณ 80 ปี จะมีการหายใจประมาณ 4 ´ 108 ครั้ง (400 ล้านครั้ง) ในช่วงตลอดชีวิต         ตอบ

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา