บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,913
เมื่อวาน 2,429
สัปดาห์นี้ 10,572
สัปดาห์ก่อน 11,634
เดือนนี้ 38,807
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,383,304
  Your IP :3.135.190.101

1.5 สเกลเวลา

      จนถึงขณะนี้ เราแค่มุ่งกล่าวถึงเรื่องสเกลอวกาศ แต่ก็มีสเกลอื่นที่ต้องเอาไปประกอบรวมกัน สเกลที่ต้องนำมาพิจารณาด้วย นั่นก็คือ สเกลเวลา (Timescale)

 

 

รูปการจำลองอายุของจักรวาลตามสเกลเวลาเป็นพันล้านปีนับตั้งแต่วินาทีที่ 0 ถึงปัจจุบัน

ที่มา : http://cdn.spacetelescope.org

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

หากสนใจหนังสือ อื่น ๆ นอกเหนือจากนี้ 

คลิก 

 

      ถ้ามองจากมุมมองของมนุษย์เรา อายุเราสั้นนัก หากเปรียบเทียบกับสเกลเวลาของจักรวาลนี้ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น จึงเกิดเพียงเล็กน้อยแทบจะสังเกตไม่เห็น

 

 

รูปการจำลองอายุของจักรวาลตามสเกลเวลาเป็นพันล้านปีนับตั้งแต่วินาทีที่ 0 ถึงปัจจุบันอีกรูป

ที่มา : http://palaeos.com

 

      ยกตัวอย่างเช่น สภาวะอากาศมาแล้วก็ไป แต่องค์ประกอบของบรรยากาศตัวมันเองโดยทั่ว ๆ ไปจะไม่เปลี่ยนแปลงในแต่ละวัน ทำนองเดียวกันกับพื้นทวีป ที่ดูปกติว่ามันอยู่นิ่ง แต่ในความเป็นจริงแล้ว แผ่นดินกำลังเคลื่อนที่อย่างช้า ๆ จนคนเราไม่สามารถรับรู้ได้

 

 

รูปจำลองพื้นทวีปของโลกโดยปกติดูเหมือนว่ามันหยุดนิ่ง แต่ในความเป็นจริงมันมีการเคลื่อนที่ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

ที่มา : http://i.imgur.com

 

      เพื่อให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น มันมีหนึ่งอย่างก็คือ จะไปเน้นในสเกลเวลาที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำสิ่งเหล่านี้เข้าสู่มุมมอง เราได้จัดวางกระบวนการภาคพื้นดิน และสเกลเวลาในตารางที่ 1.5.1

 

รูปตารางสเกลเวลาของโลก

ที่มา : http://iceage.museum.state.il.us

 

 

ช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาของโลก

103 – 104 วินาที

ช่วงเกิดพายุทั่วทั้งโลก

104 – 105 วินาที

เริ่มเกิดกลางวัน – กลางคืนอย่างชัดเจน

107 วินาที

เกิดฤดูกาลขึ้น

109 – 1010 วินาที

ช่วงสิ่งมีชีวิตทั่วไปเริ่มเกิดขึ้น

1011 – 1012 วินาที

ยุคน้ำแข็ง / เกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ

1015 – 1016 วินาที

การยกตัวของทวีป / เกิดสนามแม่เหล็ก / ชีวิต

1017 วินาที

อายุของโลกในปัจจุบัน (4.5 พันล้านปี)

ตารางที่ 1.5 ช่วงระยะเวลาของโลก

 

ทั้งหมดในไม่กี่วินาที เหตุการณ์แบบวันต่อวันเกิดขึ้นในช่วงเวลาสั้นกว่าช่วงชีวิตมนุษย์ทั่วไป

 

รูปแสดงระยะเวลาตั้งแต่ยุคต้น ๆ ของโลก

ที่มา : https://1.bp.blogspot.com

 

รูปแสดงระยะเวลาตั้งแต่ยุคต้น ๆ ของโลก

ที่มา : http://media.economist.com

 

      แต่หลังจากนั้นสั้นกว่ากระบวนการทางธรณีวิทยาหลายอย่างที่ทำให้โลกเป็นรูปร่าง รวมไปถึงยุคน้ำแข็ง (Ice ages) และการพัฒนาการของทวีป เนื่องจากระยะเวลาของเราสั้น เมื่อเทียบกับช่วงเวลาทางธรณีวิทยาเหล่านี้ เราจึงสิ้นสุดที่คิดว่ากระบวนการทางธรณีวิทยาเหล่านี้ไม่ได้เกิดขึ้น สิ่งนี้จะควบคุมความคิด และการดำเนินงานของมนุษยชาติในปัจจุบัน

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“การเรียนรู้

ไม่เคยทำให้ใครเสียเวลา

It wasn’t a waste of time if you learned something.

 

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                     หน้าต่อไป>

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา