บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 4,877
เมื่อวาน 1,008
สัปดาห์นี้ 4,877
สัปดาห์ก่อน 12,853
เดือนนี้ 22,181
เดือนก่อน 65,987
ทั้งหมด 4,837,433
  Your IP :44.211.34.178

โปรโมทหนังสือ

 

ดวงดาว และอวกาศ (Stars & Space) 2 (จบ)

 

รูปหน้าปกหนังสือ

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

สนใจหนังสือ และความรู้ของผู้เขียน

เรื่องอื่น ๆ มีทั้งโหลดได้ฟรี และราคาถูก นอกเหนือจากนี้ 

 

คลิก 

 

มีหนังสือ ดวงดาว และอวกาศ (Stars & Space) 2

ทำเป็นเล่ม อีบุ๊ค เพื่อสนับสนุนเว็บไซต์

 

สามารถโหลดอ่านตัวอย่างก่อนซื้อได้เลยครับ ฟรี

หากผู้อ่านสนใจคลิกที่ชื่อสำนักพิมพ์

 

meb          Se-ed

      เนื่องจากเทคโนโลยีของมนุษย์ ยังไม่สามารถบินไปถ่ายรูปกาแล็กซีทางช้างเผือกจากระยะไกลได้ และการส่งหัววัดโพรบออกนอกระบบสุริยะจักรวาลของเรา ยังมีความเป็นไปได้อีกไกลเลยทีเดียว

 

      สิ่งที่เห็นในอวกาศเหล่านี้ สามารถประมาณการได้จากสิ่งที่สังเกตด้วยการใช้กล้องโทรทรรศน์, หอดูดาว, การวัดความยาวคลื่น ฯลฯ แล้วนำมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ จนจำลองภาพออกมาเป็นรูปร่าง

 

 

รูปที่ 1.7 ตัวอย่างการสังเกตการณ์ในอวกาศ

ที่มา : https://astronomynow.com

 

      ระบบสุริยะจักรวาลของเรา อยู่ในตำแหน่งประมาณ สองในสาม หากนับจากใจกลางกาแล็กซีในวงก้นหอยออกมา

 

 

 

 

 

 

รูปที่ 1.8 เราอยู่ตรงนี้ ในกาแล็กซีทางช้างเผือก

ที่มา : http://www.meteoweb.eu

 

โดยเรากำลังเคลื่อนที่โคจรรอบศูนย์กลางของกาแล็กซีด้วยความเร็วประมาณ 220 กิโลเมตรต่อวินาที หมายความว่า เราจะโคจรครบหนึ่งรอบ ในทุก ๆ 225 ถึง 250 ล้านปี

 

 

 

รูปที่ 1.9 ระบบสุริยะจักรวาลของเรา กำลังโคจรรอบกาแล็กซีทางช้างเผือก

ที่มา : https://i.stack.imgur.com

 

 

รูปที่ 1.10 โลกของเรา และดาวเคราะห์ในระบบสุริยะจักรวาลกำลังหมุนรอบดวงอาทิตย์ แล้วเคลื่อนที่แบบควงสว่านโคจรรอบกาแล็กซีทางช้างเผือกอีกที

ที่มา: https://www.syfy.com

 

      กาแล็กซีของเรามีวงโคจรประมาณ 20 วง ตั้งแต่ก่อกำเนิดระบบสุริยะจักรวาล เป็นที่เชื่อกันว่า ณ ขณะนี้ เรายังเคลื่อนที่อยู่ในบริเวณ เมฆฝุ่นระหว่างดวงดาวท้องถิ่น (Local cloud)  ดูที่รูป 1.11

 

 

 

รูปที่ 1.11 สสารระหว่างดวงดาวท้องถิ่น

ที่มา : https://www.americanscientist.org

 

ทำให้เป็นการยากที่จะประเมินลักษณะที่แน่นอนของ สสารระหว่างดวงดาว หรือ ลิสม์ (Local InterStellar Medium: LISM)

 

      เนื่องจากเราไม่สามารถวัดความแรงของสนามแม่เหล็ก หรือความหนาแน่นของก๊าซ / พลาสมา จากระยะที่ไกลมาก ๆ ได้

 

      เมื่อลมสุริยะไหลออกจากดวงอาทิตย์ ในรัศมี 10,000 ล้านกิโลเมตรแรก ลมสุริยะจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วมากกว่า 1 ล้านกิโลเมตรต่อชั่วโมง

 

      ขณะที่ลมสุริยะไหลไป ช่วงที่มันไหลผ่านก๊าซ และไหลผ่านความแรงของสนามแม่เหล็ก มันจะรู้สึกถึงผลแรงต่อต้าน ที่กระทำโดย สสารระหว่างดวงดาว ทำให้มันเกิดการชะลอตัวช้าลง บางครั้งก็สลายไป

 

      ลมสุริยะจะชะลอความเร็ว จนกระทั่งหยุดลงในที่สุด และร่วมไปกับวัตถุมวลสารเหล่านั้น จุดที่ลมสุริยะชะลอความเร็วลงไปถึงต่ำกว่าความเร็วเสียง โครงสร้างแบบนี้ เรียกว่า รูปแบบกำแพงกระแทก (Termination shock forms)

 

 

 

รูปที่ 1.12 การจำลองการเคลื่อนที่ของลมสุริยะผ่านส่วนประกอบต่าง ๆ ของรูปแบบกำแพงกระแทก

ที่มา : https://static.wikia.nocookie.net

 

      เมื่อมันไหลผ่านกำแพงกระแทกไปแล้ว ลมสุริยะก็จะยังคงไหลอย่างต่อเนื่องต่อไป แต่จะมีความเร็วการเคลื่อนที่ ที่ต่ำกว่าความเร็วเสียง

 

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“กับคำว่า พอ

เป็นจุดเริ่มต้นของความสุข

 

With the word “Enough”

It's the beginning of happiness.

นิรนาม

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา