บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,947
เมื่อวาน 1,871
สัปดาห์นี้ 8,052
สัปดาห์ก่อน 15,976
เดือนนี้ 70,978
เดือนก่อน 47,501
ทั้งหมด 4,338,865
  Your IP :3.91.203.238

 

ส่วนประกอบหลักของเครื่องมือกลมีดังนี้

 

 

รูปตัวอย่างส่วนประกอบหลักของเครื่องเจาะเรเดียล

ที่มา : http://www.sundamachinetools.com

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

สนใจหนังสือ และความรู้ของผู้เขียน

เรื่องอื่น ๆ มีทั้งโหลดได้ฟรี และราคาถูก นอกเหนือจากนี้ 

 

คลิก

 

มีหนังสือ เครื่องมือกล (Machine tools) Vol. 1

ทำเป็นเล่ม อีบุ๊ค เพื่อสนับสนุนเว็บไซต์

 

รูปหน้าปกหนังสือ

 

สามารถโหลดอ่านตัวอย่างก่อนซื้อได้เลยครับ ฟรี

หากผู้อ่านสนใจคลิกที่ชื่อสำนักพิมพ์

 

meb          Se-ed

 

1.  โครงสร้างหลักที่เป็นฐานเครื่อง (Bed) เสาเครื่อง (Column) หรือโครงเครื่อง (Frame)

 

2.  อุปกรณ์จับยึดเครื่องมือตัด และการสไลด์เคลื่อนที่เข้าตัด

 

3.  แกนเพลาหมุน (Spindles) และตลับลูกปืนแกนเพลาหมุน

 

4.  ระบบขับเคลื่อน (ส่วนของกำลังงาน หรือต้นกำลัง)

 

5.  การจับยึดชิ้นงาน และอุปกรณ์จับยึดเครื่องมือ

 

6.  ระบบควบคุม

 

7.  อุปกรณ์กลไกตัดต่อ และถ่ายทอดกำลัง (Transmission linkage) 

 

ความเครียดของชิ้นงานในระหว่างถูกกระทำโดยเครื่องกล ซึ่งมีผลทำให้เสียรูปร่างของเครื่องมือกล หรือชิ้นงาน โดยทั่วไปก่อให้เกิดโดยหนึ่งของปัจจัยดังนี้:

 

1.  ภาระทางสถิตศาสตร์ (Static loads) ประกอบไปด้วยน้ำหนักของเครื่องกล และรูปร่างชิ้นส่วนที่มีความหลากหลาย

 

2.  ภาระทางพลศาสตร์ (Dynamic loads) ประกอบด้วยการหมุน หรือชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่

3.  แรงตัดที่เกิดขึ้นขณะที่วัสดุชิ้นงาน หรือมีดตัดเคลื่อนที่เข้าหากัน เพื่อตัดเฉือนชิ้นงาน

 

ทั้งภาระทางสถิตศาสตร์ และทางพลศาสตร์ มีผลกระทบกับการทำงานของเครื่องมือกล ซึ่งจะส่งผลไปถึงชิ้นงาน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของความละเอียด การเบี่ยงเบนผิดรูปไปของชิ้นงาน หรือเครื่องมือ อันเนื่องมาจากการตัดเฉือนโลหะ

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“ไม่เจอเรื่องร้าย

ไหนเลยจะรู้ว่า

ตัวเองแกร่งแค่ไหน

ไม่เจอปัญหาซะบ้าง

จะรู้เหรอว่า

จะต้องผ่านไปได้อย่างไร”

Like สาระ

 

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                    หน้าต่อไป>

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา