บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,805
เมื่อวาน 1,080
สัปดาห์นี้ 6,039
สัปดาห์ก่อน 15,976
เดือนนี้ 68,965
เดือนก่อน 47,501
ทั้งหมด 4,336,852
  Your IP :54.163.200.109

4.3 ภาพรวมของคอมพิวเตอร์ควบคุม

 

 

รูปคอมพิวเตอร์เมนเฟรม

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

      คอมพิวเตอร์เมนเฟรม (Mainframe computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความซับซ้อน มีขนาดใหญ่จนห้องได้เลย และใช้กำลังงานสูงในการประมวลผล

 

 

รูปมินิคอมพิวเตอร์

 

ส่วนมินิคอมพิวเตอร์ (Mini computer) ประสิทธิภาพ การใช้งานจะด้อยกว่าเมนเฟรม มักจะนำไปใช้สำหรับงานคำนวณทางวิทยาศาสตร์ และมีเทคนิคที่ไม่มากเกินไป ยกตัวอย่างเช่น ฟอร์แทรน (FORTRAN), แอลกอล (ALGOL)

 

 

รูปตัวอย่างภาษาฟอร์แทรน

 

และสำหรับการใช้งานด้านฐานข้อมูล ยกตัวอย่างเช่น โคบอล (COBOL)

 

 

รูปการโปรแกรมโคบอล

 

      หน่วยประมวลผลกลาง หรือซีพียู (Central Processing Unit: CPU) มีลักษณะเป็นชิปไมโครโปรเซสเซอร์เดี่ยว ถูกประดิษฐ์ขึ้นมาในปี พ.ศ. 2514 และก็เกิดการปฏิวัติแบบก้าวกระโดดของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

 

 

รูปตัวอย่างหน่วยประมวลผลกลาง

 

      จุดเริ่มต้นใน ปี พ.ศ. 2524 เริ่มมีการใช้ มัลติบอกซ์ หรือกล่องอเนกประสงค์ (Multi-boxes) มีทั้งแบบตั้งโต๊ะ หรือแบบทาวเวอร์ มีส่วนประกอบคือหน้าจอ, คีย์บอร์ด, เมาส์ หรือแบบกล่องเดียว (Single-box) ที่เป็นโน๊ตบุ๊ค (Notebook)

 

      ไมโครคอมพิวเตอร์ กลายเป็นว่ามีผู้ใช้งานอยู่ทุกวัน เป็นเครื่องมือส่วนบุคคล ในงานด้านการประมวลคำ (Word porcessing), กระดาษคำนวณ (Spreadsheet calculation), การเล่นเกมส์, การวาดรูป, กระบวนการมัลติมีเดีย และการนำเสนอ (Presentations)

 

 

รูปงานประมวลคำ

 

 

รูปหน้าจอกระดาษคำนวณ

 

      เมื่อเชื่อมต่อในระบบเครือข่ายท้องถิ่น หรือระบบแลน (Local Area Network: LAN) หรือระบบอินเตอร์เน็ต (Internet) เหล่านี้ถูกนำมาใช้ใน คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือพีซี (Personal Computers: PCs) ซึ่งทำให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล และค้นหาใช้บริการด้านเว็บไซต์ หรือเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web: WWW)

 

 

รูปสัญลักษณ์ค้นหาใช้บริการด้านเว็บไซต์

 

      นอกจากนี้คอมพิวเตอร์สมัยใหม่ยังมีความสามารถในด้านการมองเห็น (Visible)

 

 

รูปตัวอย่างหุ่นยนต์สำรวจใต้น้ำ จะส่งภาพวิดีโอมายังผู้บังคับ

 

แล้วในอุปกรณ์เทคโนโลยีสมัยใหม่จำนวนมาก จะมีการฝังไมโครคอมพิวเตอร์ในผลิตภัณฑ์ เช่น ในเครื่องจักรกล, ยานยนต์, เครื่องมือวัด, อุปกรณ์สื่อสาร, เครื่องใช้ภายในบ้าน, ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับผู้บริโภค (กล้องถ่ายรูป, ระบบไฮไฟ, โทรทัศน์, ตัวบันทึกวิดีโอ, โทรศัพท์มือถือ, เครื่องดนตรี, เครื่องปรับอากาศ)

 

 

รูปรถไฟสมัยใหม่ที่มีการฝังตัวของไมโครคอมพิวเตอร์

 

      พวกมันจะเชื่อมต่อกับตัวตรวจจับ, อินเตอร์เฟซส่วนติดต่อผู้ใช้ (ปุ่ม และจอแสดงผล) และอุปกรณ์ทำงาน มีความสามารถในการโปรแกรมของตัวควบคุมพาให้อุปกรณ์มีการทำงานที่ยืดหยุ่น (มีการเลือกฟังชันก์การทำงานของโปรแกรม), บางชนิดมีความฉลาด (ตรรกศาสตร์คลุมเครือ หรือฟัซซี่ลอจิก (Fuzzy logic)) และการใช้งานแบบสะดวก (User-friendly)

 

 

รูปภายในห้องนักบินโบอิ้ง 787 ที่มีปุ่มควบคุมในส่วนต่าง ๆ ของเครื่องบิน

 

      มันมีความน่าเชื่อถือสูง และง่ายต่อการบำรุงรักษา, ซ่อมแซม, มีการปรับค่าสอบเทียบได้เองแบบอัตโนมัติ, มีการวินิจฉัยอัตโนมัติ และความเป็นไปได้ของการเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน

 

      มีการสื่อสารซึ่งกันและกัน หรือการควบคุมตามลำดับที่ใช้ในโรงงาน หรือในบ้านอัจฉริยะ ภาพของการทำงานของการวัดทางไฟฟ้าดูได้ที่รูปด้านล่าง

 

 

 

รูปตัวอย่างของระบบแมคาทรอนิกส์ขนาดเล็ก อุปกรณ์ ALAMBETA สำหรับการวัดของคุณสมบัติทางความร้อนของผ้า และแผ่นพลาสติก มันใช้วิธีการวัด ความร้อนที่สามารถของการไหลได้จากเซ็นเซอร์ การวัดความหาตัวอย่างรวมเข้าด้วยกันไปยังหัวอ่าน ควบคุมด้วยไมโครโปรเซสเซอร์ และสามารถเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์

 

 

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

ร่วมน้อมรำลึกถึง คำพ่อสอน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต

 

ผู้ที่จะรักษาความเป็นไทยได้มั่นคงที่สุด ดี และเหมาะสมที่สุด

ไม่มีใครอื่นนอกจากคนไทย 

เพราะฉะนั้นไม่ว่าจะอยู่ ณ แห่งใด

คนไทย มีหน้าที่ต้องรักษาความเป็นไทยเสมอ

 

พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่สมาคมนักเรียนไทยในประเทศญี่ปุ่น ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๗

 

 

 

ขอน้อมส่งพระองค์สู่สวรรคาลัย

ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ

 

 

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา