บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 2,571
เมื่อวาน 4,086
สัปดาห์นี้ 9,849
สัปดาห์ก่อน 12,965
เดือนนี้ 51,049
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,395,546
  Your IP :3.146.37.35

3.7 การควบคุมไมโครโปรเซสเซอร์ขาเข้า ขาออก

 

3.7.1 การโพลลิ่ง และการรบกวน

 

      มีวิธีการพื้นฐานสองวิธีสำหรับตัวไมโครโปรเซสเซอร์ เพื่อควบคุมขาเข้า และขาออก ก็คือวิธีการที่เรียกว่า การโพลลิ่ง (Polling) และการรบกวน (Interrupts)

 

 

รูปแผนภาพการไหลพื้นฐานของงานที่ใช้ไมโครโปรเซสเซอร์เพื่อควบคุมหุ่นยนต์

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

      การโพลลิ่งที่เหมาะสม ได้จากการที่ไมโครโปรเซสเซอร์ตรวจสอบการทำงานเป็นช่วง ๆ ในอุปกรณ์ต่อพ่วงที่มากมาย เพื่อนำมาคำนวณ ถ้าขาเข้า หรือขาออกต้องถูกให้รอคอย เพราะหากอุปกรณ์ที่กำลังต่อพ่วงบางครั้งจะมีขาเข้า หรือขาออกปริมาณมากแค่ไหนนั่น ก็ขึ้นอยู่กับกระบวนการ

 

 

รูปการโพลลิ่ง

 

      ค่าสถานะของสัญญาณจะถูกตั้งค่า ปัญหานั่นมักมาจากกระบวนการในเรื่องของเวลา เพื่อเป็นการตรวจสอบของเสียสำหรับขาเข้า เมื่อพวกมันไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง

 

      การให้เกิดการขัดจังหวะ (Servicing an interrupt) สัญญาณ เป็นเรื่องของ วิธีการเลือก (Alternative method) เพื่อใช้ควบคุมขาเข้า และขาออก ในวิธีการนี้ รีจีสเตอร์ในไมโครโปรเซสเซอร์ต้องมีการตั้งค่าขัดจังหวะเปิดใช้งาน (Interrupt Enable: IE) โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับอุปกรณ์ต่อพ่วง

 

 

รูปการรบกวนในอุปกรณ์ต่อพ่วง

 

       เมื่อมีการขัดจังหวะเริ่มขึ้นโดยอุปกรณ์ต่อพ่วงที่เพิ่มเข้ามา ไมโครโปรเซสเซอร์จะกำหนดค่าสถานะเพื่อ การร้องขอขัดจังหวะ (Interrupt ReQuest: IRQ) จะนำไปใช้งาน และไมโครโปรเซสเซอร์จะทำให้เกิดการขัดจังหวะ

 

 

รูปอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ต่อพ่วงเพื่อให้ไมโครโปรเซสเซอร์ร้องขอขัดจังหวะ

 

      การให้เกิดการขัดจังหวะ หมายถึง กระบวนการประมวลผลของไมโครโปรเซสเซอร์ในขณะที่ทำงานโดยปกติ แล้วถูกหยุดลง ก็คือการขัดจังหวะนั่นเอง ในขณะที่ทำเรื่องขาเข้า / ขาออกเรียบร้อยแล้ว

 

      เพื่อที่จะให้กลับมาทำการประมวลผลตามปกติ ไมโครโปรเซสเซอร์มีความจำเป็นต่อการจัดเก็บเนื้อหาของการรีจีสเตอร์ ก่อนที่จะเกิดการขัดจังหวะขึ้น กระบวนการนี้รวมไปถึงการบันทึกทั้งหมดที่มีการกำหนดรีจีสเตอร์เป็นกลุ่ม (Stack), บางส่วนของแรม เพื่อการนี้ เรียกกระบวนการนี้ว่า การผลักดัน (Push)

 

      หลังจากการผลักดัน ไมโครโปรเซสเซอร์สามารถโหลดที่อยู่ของการขัดจังหวะไว้เป็นประจำ และทำสำเร็จทั้งในด้านขาเข้า / ขาออก เมื่อส่วนของรหัสได้ทำเสร็จสมบูรณ์แล้ว เนื้อหาของกลุ่มที่มีการโหลดรีจีสเตอร์ขึ้นมาใหม่ ในการทำงานแบบนี้ รู้จักกันในชื่อว่า การป๊อบ หรือการดึง (Pop or Pull) ทำให้เกิดการดำเนินการประมวลผลตามปกติ

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

“คนรวยที่ไม่รู้จักพอ

ก็เป็นคนจนอยู่ตลอดเวลา

คนที่รู้จักพอ

ก็เป็นคนมั่งมีอยู่ตลอดเวลา”

สมเด็จพระญาณสังวร

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา