บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 32
เมื่อวาน 1,670
สัปดาห์นี้ 3,224
สัปดาห์ก่อน 12,965
เดือนนี้ 44,424
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,388,921
  Your IP :18.191.240.243

 

รูปยานยนต์ที่ขับเคลื่อนอุปกรณ์ด้วยไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

ตัวอย่างของขั้นตอน 1 - 3 จะถูกนำมาใช้ในตัวอย่างของยานยนต์สมัยใหม่ ดังแสดงในรูปด้านบน เป็นยานยนต์ที่มีการ ขับเคลื่อนอุปกรณ์ด้วยไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ (Drive-by-wire) ซึ่งเป็นวิธีการแบบครบวงจรในกระบวนการไหลของพลังงาน ซึ่งจะมีทั้ง กระบวนการทางไฟฟ้า, ทางกล และทางไฮดรอลิกส์ที่ทำงานด้วย ของไหลที่อัดตัวไม่ได้ (Incompressible fluids) ตารางที่ 2.4 ข้อกำหนดทั่วไปที่ใช้ผ่าน และก้าวข้ามตัวแปร

 

ระบบ

ผ่านตัวแปร

ข้ามตัวแปร

ไฟฟ้า

กระแสไฟฟ้า

I

แรงดันไฟฟ้า

U

แม่เหล็ก

การไหลของแม่เหล็ก

F

แรงแม่เหล็ก

Q

ทางกล

- เคลื่อนแนวตรง

- เคลื่อนแบบหมุน

 

แรง

แรงบิด

 

F

M

 

ความเร็ว

ความเร็วรอบ

 

w

w

ไฮดรอลิกส์

ปริมาตรการไหล

V

ความดัน

P

อุณหพลศาสตร์

การไหลของเอนโทรปี

 

อุณหภูมิ

T

ตารางที่ 2.4 ตัวแปรทั่วไปที่ผ่าน และข้ามสำหรับกระบวนการพร้อมกับการไหลของพลังงาน

 

ในกรณีเหล่านี้ ผลที่ได้ของการข้าม และการผ่านตัวแปร ซึ่งก็คือกำลังงาน โดยมีการรวมกันของระบบต่าง ๆ เพื่อการกำหนดของแบบจำลองกราฟที่เชื่อมโยงกันอย่างมาตรฐาน

 

      นอกจากนี้ ในการบวนการไฮดรอลิกส์ที่มีของไหลอัดตัวได้ และกระบวนการทางความร้อน ตัวแปรเหล่านี้สามารถกำหนดถึงผลลัพธ์ใน กำลังงาน ดังแสดงให้เห็นในตารางที่ 2.4 อย่างไรก็ตาม การใช้การไหลของมวล และการไหลของความร้อน ไม่ได้ถูกนำไปปฏิบัติในทางวิศวกรรม

 

      ถ้าตัวแปรเหล่านี้ที่ถูกนำมาใช้ เรียกว่า กราฟพันธะเทียม (Pseudo bond graphs) ที่มีกฎพิเศษ ส่งผลให้เกิดการออกจากความเรียบง่ายของกราฟพันธะมาตรฐาน กราฟพันธะนำไปสู่นามธรรมที่เป็นระดับสูง มีความยืดหยุ่น และต้องเพิ่มความพยายามในขั้นตอน หรืออัลกอริทึมของการสร้างแบบจำลอง

 

      เพราะฉะนั้น พวกมันจึงไม่เหมาะที่จะเป็นเครื่องมือที่มีความเหมาะสมพอที่ใช้ในระบบแมคาทรอนิกส์ นอกจากนี้ การทำงานที่น่าเบื่อ คือมีความจำเป็นที่จะต้องสร้างบล็อกไดอะแกรม จากข้อกำหนดแรกของบล็อกขาเข้า / ขาออก ที่ไม่เหมาะสม

 

      การพัฒนาได้นำไปสู่การสร้างแบบจำลองเชิงวัตถุอยู่ ในแนวทางที่ซึ่งวัตถุมีขั้วที่กำหนดไว้ โดยไม่ต้องสมมติสิ่งที่ก่อให้เกิดสถานะขั้นพื้นฐาน จากนั้น แผนภาพวัตถุจะเป็นการแสดงภาพกราฟิก ที่ยังคงรักษาความเข้าใจขององค์ประกอบทางกายภาพแบบเดิม

 

      ดังนั้น การสร้างแบบจำลองในทางทฤษฏีของระบบแมคาทรอนิกส์ ด้วยการรวมกันอย่างโปร่งไส และมีขั้นตอนที่ยืดหยุ่น (จากองค์ประกอบพื้นฐานของขอบเขตที่แตกต่างไปถึงการจำลอง) ซึ่งเป็นความท้าทายสำหรับการพัฒนาต่อไปในอนาคต

 

      องค์ประกอบจำนวนมากแสดงออกมาแบบไม่เชิงเส้น และไม่โดยตรง (ความเสียดทาน และการรุกกลับ) สำหรับกระบวนการของชิ้นส่วนที่ซับซ้อน และการทำแผนที่หลายมิติมากกว่านี้ ยกตัวอย่างเช่น เครื่องยนต์เผาไหม้, พฤติกรรมของยาง ต้องทำงานโดยการบูรณาการร่วมกัน

 

รูปการทำงานบูรณาการร่วมกันของระบบต่าง ๆ ในยานยนต์

 

      สำหรับการตรวจสอบแบบจำลองในทางทฤษฏี มีหลายอย่างที่รู้จักกันดี เป็นวิธีการระบุรายละเอียดที่สามารถนำมาใช้ได้ เช่น การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ (Correlation analysis) และการวัดตอบสนองความถี่ (Frequency response) หรือ การวิเคราะห์ฟูเรียร์ (Fourier analysis) หรือการวิเคราะห์สเปกตรัม (Spectral analysis)

 

รูปตัวอย่างวิธีวิเคราะห์ความสัมพันธ์

 

รูปตัวอย่างวิธีการวัดตอบสนองความถี่

 

รูปวิธีการวิเคราะห์สเปกตรัม

 

 

      เนื่องจากพารามิเตอร์บางอย่างไม่เป็นที่รู้จัก หรือเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา วิธีการประเมินค่าพารามิเตอร์สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ ทั้งสำหรับแบบจำลองที่มีเวลาต่อเนื่อง หรือเวลาที่ไม่ต่อเนื่อง (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้าแบบจำลองเป็นแบบเชิงเส้นในพารามิเตอร์)

 

      สำหรับการระบุ และการประมาณค่าที่ไม่เชิงเส้น ยกตัวอย่าง ลักษณะหลายมิติ (Multi-dimensional), เครือข่ายประสาทเทียม (Artificial neural networks), การรับรู้หลายชั้น (Multilayer perceptrons) หรือฟังชันก์รัศมีพื้นฐาน (Radial-basis-function) สามารถนำมาอธิบายสำหรับกระบวนการพลศาสตร์แบบไม่เชิงเส้นได้

 

รูปเครือข่ายประสาทเทียม

 

รูปฟังชันก์รัศมีพื้นฐาน

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“หมาไม่เคยโกรธ หมาไม่เคยเกลียด เวลาที่คุณ ตี เตะ ตบ หมา

หมาบางตัว นอนให้ตีโดยไม่หนี ก็จะให้หมา หนีไปไหนได้ล่ะ?

เพราะคนที่หมารัก และหมาคิดว่า อยู่ด้วยแล้วปลอดภัยที่สุด

 

คือ คนที่กำลังตีเขาอยู่ตรงนี้”

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา