บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,203
เมื่อวาน 2,429
สัปดาห์นี้ 9,862
สัปดาห์ก่อน 11,634
เดือนนี้ 38,097
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,382,594
  Your IP :3.142.124.252

ตัวอย่างที่ 5.8 การชั่งน้ำหนักปลาในลิฟต์

 

ชายคนหนึ่งนำปลาไปชั่งน้ำหนักในลิฟต์ ปลามวล m บนสเกลสปริงที่ติดตั้งกับเพดานลิฟต์ที่แสดงไว้ ในรูปด้านล่าง  จงหา

 

รูปปลาที่ชั่งน้ำหนักบนสเกลสปริงในขณะที่ตู้ลิฟต์มีความเร่ง

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

ก) จงแสดงให้เห็นว่า หากลิฟต์มีความเร่งไม่ว่าขึ้น หรือลง สเกลของสปริงจะทำการอ่านค่าที่แตกต่างกันจากน้ำหนักของปลา

 

ข) น้ำหนักปลาอ่านค่าได้ 40  N หรือไม่ หากลิฟต์เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง ±2 m/s2

 

 

 

ก) จงแสดงให้เห็นว่า หากลิฟต์มีความเร่งไม่ว่าขึ้น หรือลง สเกลของสปริงจะทำการอ่านค่าที่แตกต่างกันจากน้ำหนักของปลา

 

วิธีทำ

 

กรอบความคิดการอ่านสเกลมันสัมพันธ์ต่อการขยายตัวของสปริงในเครื่องชั่ง ซึ่งสัมพันธ์กับแรงบนปลายของสปริงในรูปปลาถูกแขวนบนขอของสปริง ในกรณีนี้ ขนาดของแรงกระทำต่อสปริงเท่ากับ ความตึง T ในสายเชือก ดังนั้น เรามองไปที่ T แรง T ดึงลงต่ำ และดึงขึ้นบนปลา

 

แบ่งประเภทหมวดหมู่: เราสามารถจัดหมวดหมู่ปัญหาโดยการระบุว่าปลาเป็นจุดอนุภาคอยู่ภายใต้แรงสุทธิ

 

การวิเคราะห์: ตรวจสอบผังไดอะแกรมของแรงกระทำบนปลาในรูป 5.13 และสังเกตว่าแรงภายนอกที่กระทำต่อปลาคือแรงโน้มถ่วงของโลกดึงลง แรง F = mg และแรง T กระทำโดยเชือก ถ้าลิฟต์อยู่นิ่งกับที่ หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ปลาเป็นอนุภาคในภาวะสมดุล ดังนั้น

 

SFy= T – Fg = 0

 

หรือ

 

T = Fg = mg

 

จำไว้ว่า สเกลล่าร์คือ น้ำหนัก mg ของปลา

 

ตอนนี้มาสมมติว่าลิฟต์เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง a สัมพันธ์กับผู้สังเกตการณ์ที่ยืนด้านนอกลิฟต์ในกรอบเฉื่อย ตอนนี้ปลาเป็นอนุภาคภายใต้แรงกระทำ

 

ใช้กฎข้อที่สองของนิวตัน

 

SFy= T – mg = may

 

แก้ปัญหาเพื่อ หาค่า T

 

T = may + mg = mg((ay/g)+1)

 

= Fg((ay/g)+1)                (1)

 

ที่เราได้เลือกทิศทางขึ้นเป็นบวกในแนว y เราสรุปได้จากสมการ (1) ว่าการอ่านค่า T สูงกว่าน้ำหนักของปลา mg หาก a มีทิศขึ้น ดังนั้น ay เป็นบวก (รูป a) และนั่นอ่านน้อยว่า mg ถ้า a มีทิศทางลง ดังนั้น ay เป็นลบ (รูป b

 

 

ข) น้ำหนักปลาอ่านค่าได้ 40  N หรือไม่ หากลิฟต์เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง ±2 m/s2

 

ประเมินค่าการอ่านจากสมการ (1) ถ้า a มีทิศขึ้น

 

T = (40 N)(((2 m/s2)/(9.81m/s2))+1)

 

= 48.154 N

 

ประเมินจากการอ่านค่า จากสมการ (1) ถ้า a มีทิศทางลง

 

T =  (40 N)(((-2 m/s2)/(9.81m/s2))+1)

 

= 31.845 N               ตอบ

 

ท้ายสุด: คำแนะนำนี้ หากคุณซื้อปลาในลิฟต์ ให้แน่ใจว่าปลาจะชั่งน้ำหนักในขณะที่ลิฟต์อยู่กับที่ หรือเร่งลง นอกจากนี้สังเกตเห็นว่าจากข้อมูลที่ระบุไว้ในที่นี้ไม่สามารถระบุทิศทางการเคลื่อนที่ของลิฟต์ได้

 

 

 

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“ฉันได้จากโลกนี้ไปแล้ว โดยไม่เสียใจ

เพราะฉันได้อุทิศชีวิตของฉันให้กับบางสิ่งที่เป็นประโยชน์

ในฐานะเป็นผู้รับใช้ที่ต่ำต้อย ในงานศิลปะของฉัน

ชีวิตนั้นสั้น แต่ศิลปะยืนยาว

ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                    หน้าต่อไป>

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา