บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,417
เมื่อวาน 1,918
สัปดาห์นี้ 3,335
สัปดาห์ก่อน 11,634
เดือนนี้ 31,570
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,376,067
  Your IP :18.119.17.207

4.4 การตรวจวัดความต้านทาน

 

      ตัวต้านทานขนาดเล็กจะมีแถบสีบอกค่าความต้านทาน และมีค่าความเผื่อแสดงไว้ที่ตัวถัง ดังนั้น ระบบรหัสแถบสี(Color-coded strip system) ถูกใช้เพื่อแสดงค่าความต้านทาน แถบรหัสสามารถมองเห็น และอ่านค่าได้ในตำแหน่งที่มีตัวต้านทาน ตามรหัสสีที่กำหนดจาก สมาคมอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Industries Association: EIA) ดูรายละเอียดได้ในรูป

 

 

รูปแถบรหัสสีของสมาคมอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

 

 

รูปแถบรหัสสี

 

       ความหมายของแถบสีบนตัวต้านทานมีดังนี้ วงแรกใกล้กับปลายของตัวต้านทานเป็นค่าตัวแรกของค่าความต้านทาน วงที่สองต่อมาหมายถึงค่าที่สองของค่าความต้านทาน วงที่สาม หมายถึง จำนวนศูนย์ที่จะเพิ่มลงในตัวเลขที่สองตัวแรก วงที่สี่แสดงถึงความทนทานของตัวต้านทาน ดูที่รูปด้านล่าง

 

 

รูปความหมายของแถบสี่ที่มีต่อตัวต้านทานบนส่วนประกอบคาร์บอน

 

ยกตัวอย่าง ตัวต้านทานที่แสดงในรูปด้านล่าง

 

 

รูปตัวอย่างตัวต้านทานค่าความต้านทาน 1500 W

 

มีค่าความต้านทาน 1500 โอห์ม แถบน้ำตาล (แถบแรก) แสดงให้เห็นถึงตัวเลขแรก (1) แถบสีเขียว (แถบที่ 2) หมายถึงตัวเลขที่สอง (5) แถบสีแดง (วงที่สาม) หมายถึงค่าเป็นศูนย์ (สองศูนย์-00) เพื่อเพิ่มตัวเลขสองตัวแรก แถบสีทอง (แถบที่สี่) บอกถึง ค่าความคลาดเคลื่อนได้ไม่เกิน ±5%

 

ดังนั้น ตัวต้านทานตัวนี้จะมีค่า 1500 โอห์ม ที่มีค่าความคลาดเคลื่อนได้ บวก / ลบ 5 เปอร์เซ็นต์

 

 

รูปแถบที่ห้าของตัวต้านทานบอกถึงความน่าเชื่อถือของตัวต้านทาน

 

      ตัวต้านทานบางตัวก็อาจมีแถบที่ห้าได้ ดูที่รูปด้านบน แถบที่ห้านี้บอกถึงความน่าเชื่อถือของตัวต้านทาน มันบอกถึงค่าของตัวต้านทาน (ต่อค่าพัน) จะล้มเหลวผิดพลาดได้หลังจากใช้งานผ่านไป 100 ชั่วโมงของการทำงาน

 

      โดยทั่วไป เมื่อพบว่ามีแถบห้าแถบบนตัวต้านทาน จำนวนสีที่ตัวถังจะแสดงให้เห็นในแต่ละค่า ในกรณีห้าแถบนี้ ที่แถบด้านขวาสุด บอกค่าความคลาดเคลื่อน (สีทอง หรือเงิน) และสามารถอ่านค่าความต้านทานตามปกติ ตามที่อธิบายไว้ก่อนหน้านี้

 

มีอยู่สองกรณี ที่แถบสีที่สามไม่ได้หมายถึงจำนวนศูนย์ นั่นคือ

 

กรณีแรก สำหรับค่าตัวต้านทานมีค่าน้อยกว่า 10 โอห์ม แถบที่สามจะแสดงเป็นสีทอง นี้หมายความว่าตัวเลขสองตัวแรกควรคูณด้วย 0.1

 

กรณีที่สอง สำหรับค่าตัวต้านทานน้อยกว่า 1 โอห์ม แถบที่สามจะเป็นสีน้ำเงิน หมายความว่าตัวเลขสองตัวแรกจะคูณด้วย 0.01

 

วิดีโอแสดงตัวอย่างการอ่านค่าความต้านทาน

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

วัด

ก็คล้าย ๆ กับส้วม

มีหลายคนที่ชอบถามว่า

คุณไปวัด ได้อะไรบ้าง

คุณไปวัด ก็เหมือนไปห้องส้วม

คุณจะได้อะไรบ้าง

ก็ไม่ได้อะไร

แต่ว่า เราก็ได้ถ่ายของสกปรกออกไป”

ชยสาโรภิกขุ

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                    หน้าต่อไป>

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา