บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,931
เมื่อวาน 1,871
สัปดาห์นี้ 8,036
สัปดาห์ก่อน 15,976
เดือนนี้ 70,962
เดือนก่อน 47,501
ทั้งหมด 4,338,849
  Your IP :44.223.39.199

12 วัฏจักรคาร์โนด

 

 

รูปผังการทำความเย็น

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

 

รูปวัฏจักรคาร์โนด

 

      วัฏจักรคาร์โนด (Carnot cycle) เป็นวัฏจักรที่ทำงานในระบบทำความเย็นทั้งหมด จะทำงานในกระบวนการผสม วัฏจักรนี้จะทำความเย็นด้วยวิธีการทำให้สารความเย็นเป็นของเหลว กระบวนการไปจนถึงการขยายตัวกลายเป็นไอ

 

      วัฏจักรคาร์โนดเป็นการผสมของกระบวนการไอเซนโทรปิก (Isentropic) และไอโซเทอร์มอล (Isothermal)



 

รูปวัฏจักรคาร์โนด

 

-                   1 ไป 2 การขยายตัวแบบ ไอเซนโทรปิก

 

-                   2 ไป 3 ความร้อนระบายออกแบบ ไอโซเทอร์มอล

 

-                   3 ไป 4 การอัดตัวแบบ ไอเซนโทรปิก

 

-                   4 ไป 1 ความร้อนคายออกแบบ ไอโซเทอร์มอล

 

วิดีโอแอนิเมทชันอธิบายวัฏจักรคาร์โนด

 

 

 


การขยายตัวแบบไอเซนโทรปิก (Isentropic expansion) 

 

      การขยายตัวแบบนี้ของเหลวจะทำงาน และขยายตัวโดยรักษาเอนโทรปีให้คงที่ เราเรียกว่า กระบวนการอะเดียบาติก (Adiabatic process) โดยไม่มีความร้อนที่เข้า หรือออกจากระบบ

 

      มันเป็นกระบวนการแบบย้อนกลับได้ กระบวนการนี้ทำให้ของไหลนั้นกลับมาอัดตัวได้อีก เป็นวิธีการที่ดีที่สุดของการขยายตัว เพราะว่ามันสร้างอุณหภูมิได้สูง และความดันเกิดการเปลี่ยนแปลงไป

 

 

 

การขยายตัวแบบไอเซนทาลปิก (Isenthalpic expansion) 

 

      ของไหลผ่านการเปลี่ยนแปลงความดันโดยไม่มีการส่งถ่ายความร้อน มันเป็นกระบวนการปกติในระบบการทำความเย็นที่การใช้งานได้สะดวก แต่อย่างไรก็ดี มันมีประสิทธิภาพทางเทอร์โมไดนามิกส์ที่ต่ำ นั่นก็เป็นเพราะว่า มันเป็นกระบวนการที่ไม่สามารถย้อนกลับได้นั่นเอง ซึ่งเป็นไปทางอุดมคติ

 

 

รูปซาดิ คาร์โนด

 

      ซาดิ คาร์โนด (Sadi carnot) (ปี พ.ศ. 2339-2375) เป็นวิศวกร และนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส ในปี พ.ศ. 2367 ได้พัฒนาเครื่องยนต์ความร้อนในทางสมมติ ที่ให้ประสิทธิภาพ 100% (ซึ่งจะขัดแย้งในกฎข้อที่ 2 ของอุณหพลศาสตร์)

 

      เขายกตัวอย่างเครื่องยนต์สมมติ และได้ค้นพบเครื่องยนต์ที่เหมาะสม คือต้องเป็นกระบวนการย้อนกลับไม่ได้ ทุก ๆ การถ่ายเทความร้อน ในวัฏจักรทางอุดมคติต้องเป็นกระบวนการไอโซเทอร์มอล หรืออะเดียบาติก

 

      จากสูตร K = TC/TH - TC แสดงให้เห็นเป็นประสิทธิภาพทางอุดมคติ ที่ไม่มีทางเข้าถึงได้ในทางปฏิบัติ

 

 

วิดีโอวัฏจักรการทำความเย็น

 

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“คนเรา มีเวลา 24 ชั่วโมงเท่ากัน

มันขึ้นอยู่กับว่า

ใครจะเลือกใช้เวลาแต่ละนาที

ให้มันคุ้มค่ามากแค่ไหน

เท่านั้นเอง”

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา