บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 211
เมื่อวาน 1,670
สัปดาห์นี้ 3,799
สัปดาห์ก่อน 11,634
เดือนนี้ 32,034
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,376,531
  Your IP :18.189.180.244

       ในหัวข้อที่ 4.2 เราได้กล่าวถึงการเคลื่อนที่ในสองมิติด้วยความเร่งคงที่ สามารถวิเคราะห์การผสมผสานกันของการเคลื่อนที่ที่เป็นอิสระในสองทิศทางในทิศทางแนวแกนเอ็กซ์ และแกนวาย ด้วยความเร่ง ax และ ay การเคลื่อนที่ในแนววิถีโค้งสามารถก็สามารถคิดวิเคราะห์เป็นแนวทางนี้ได้เหมือนกัน

 

      ด้วยความเร่งมีค่าเป็นศูนย์ ในทิศทางแนวแกนเอ็กซ์ กับความเร่งมีค่าคงที่ในแนวทิศทางแกนวาย ay = -g ดังนั้น เมื่อมีวิเคราะห์การเคลื่อนที่วิถีโค้ง รูปแบบของมันจะเป็นการเคลื่อนที่แบบซ้อนกันของการเคลื่อนที่ทั้งสอง นั่นคือ

 

1) การเคลื่อนที่ของอนุภาคภายใต้ความเร็วคงที่ในทิศทางในแนวราบ

 

2) การเคลื่อนที่ของอนุภาคภายใต้ความเร่งคงที่ (การตกลงมาอย่างอิสระ) ในทิศทางแนวดิ่ง

 

รูปส่วนประกอบทั้งสองของการเคลื่อนที่วิถีโค้ง

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

      ส่วนองค์ประกอบทั้งในแนวราบ และแนวดิ่งของการเคลื่อนที่ของวิถีโค้ง จะเป็นไปอย่างอิสระของแต่ละทิศทาง และสามารถทำการจัดการวิเคราะห์แบบแยกกันได้ ในช่วงเวลา t ที่แปรเปลี่ยนไปร่วมกันทั้งสองส่วนประกอบ

 

4.3.1 ระยะทางในแนวราบ และความสูงสุดของการเคลื่อนที่แบบวิถีโค้ง 

   

      ให้เราสมมติการเคลื่อนที่โปรเจคไตล์จากจุดกำเนิด ที่เวลา ti = 0 กับส่วนประกอบ vyi ที่มีค่าเป็นบวก ดังแสดงในรูปด้านล่าง

 

 

รูปการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์เคลื่อนที่เหนือพื้นราบจากจุดกำเนิด

 

และย้อนกลับไปสู่ระดับระนาบเดียวกัน สถานการณ์เหล่านี้เราสามารถเห็นได้ในชีวิตประจำวันมากมาย เช่น ในกีฬา ฟุตบอล, เบสบอล, กอล์ฟ ที่เมื่อตี เตะ ฟาด ลูกบอลไปบนอากาศแล้วก็จะตกลงมาพื้นราบเหมือนเดิม

 

 

รูปการเคลื่อนที่วิถีโค้ง ที่มักเห็นในเกมส์กีฬาที่เล่นกับลูกบอล

 

 

รูปการเคลื่อนที่วิถีโค้งกับเกมส์กีฬาฟุตบอล

 

      ti = 0 ที่มีความเร็วเริ่มต้น vi ความสูงสุดสุดของการเคลื่อนที่คือ h และระยะไกลสุดในแนวราบคือ R  จุดสองจุดในการเคลื่อนที่นี้ เป็นสิ่งที่น่าสนใจอย่างยิ่งที่จะนำมาวิเคราะห์ นั่นคือ: จุดที่ลอยตัวสูงสุด ซึ่งนำมาเทียบกับพิกัดคาร์ทีเซียน คือ h พิกัด (R/2, h) และจุดที่การเคลื่อนที่วิถีโค้งไปได้ไกลสุดในแนวราบ คือ R พิกัด (R, 0)

 

      ระยะทาง R เรียกว่า ระยะในแนวราบ (Horizontal range) ของการเคลื่อนที่วิถีโค้ง และระยะทาง h คือ ระยะความสูงจุดสูงสุด (Maximum height) ซึ่งการเคลื่อนที่แบบนี้ จะให้เราคำนวณหาค่า h และ R ของ vi, qi และ g  

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“เมื่อคุณพูด คนทั่วไปจะได้ยินสิ่งที่คุณพูด

แต่เพื่อนที่ดีที่สุด จะได้ยินแม้ในส่งที่คุณไม่ได้พูด”

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา