บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 27
เมื่อวาน 4,800
สัปดาห์นี้ 12,105
สัปดาห์ก่อน 12,965
เดือนนี้ 53,305
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,397,802
  Your IP :18.118.184.237

      ความเร่งเฉลี่ย (Average acceleration: ) ของอนุภาค กำหนดให้เป็นการเปลี่ยนแปลงในเวกเตอร์ความเร็วชั่วขณะ เวกเตอร์ความเร็ว หารด้วยช่วงเวลา Dt ในระหว่างที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น สมการจะเป็นดังนี้

 

รูปสมการที่ 4.4 ความเร่งเฉลี่ย

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

       เพราะว่า ความเร่งเฉลี่ยเป็นอัตราส่วนของปริมาณเวกเตอร์ เวกเตอร์ความเร็ว กับปริมาณสเกล่าร์ของช่วงเวลา Dt ที่เป็นบวก

 

เราสรุปได้ว่าความเร่งเฉลี่ยเป็นปริมาณเวกเตอร์ที่เป็นเวกเตอร์ความเร็ว  แสดงให้เห็นในรูปด้านล่าง

 

 

รูปการเคลื่อนที่ของอนุภาคจากตำแหน่ง A ไปสู่ตำแหน่ง B เวกเตอร์ความเร็วของมันเปลี่ยนแปลงจาก ความเร็วตอนเริ่มต้นไปสู่ความเร็วตอนปลาย ผังของเวกเตอร์ที่ด้านขวาบนแสดงเป็นสองทางของการคำนวณเวกเตอร์ความเร็ว จากความเร็วเริ่มต้น และความเร็วสุดท้าย

 

ทิศทางของเวกเตอร์ความเร็ว   มาจากการบวกของค่าลบเวกเตอร์ความเร็วเริ่มต้น  (การเป็นลบของ ) บวกกับเวกเตอร์ความเร็วสุดท้าย  เนื่องมาจากโดยคำนิยาม  =  (รูป) เปรียบเทียบกับสมการ 4.4 กับสมการ 2.9

 

      เมื่อความเร็วเฉลี่ยของอนุภาคเปลี่ยนไประหว่างช่วงเวลาที่เปลี่ยนไป มันเป็นประโยชน์ต่อการกำหนดความเร่งชั่วขณะ (Instantaneous acceleration:)

 

ในความเร่งชั่วขณะ กำหนดใช้ค่าลิมิตของการอัตราส่วนการหารของเวกเตอร์ความเร็วกับช่วงเวลา /Dt ซึ่ง Dt เข้าสู่ศูนย์ ความเร่งชั่วขณะจะเป็นดังนี้

 

 

รูปสมการที่ 4.5 ความเร่งชั่วขณะ

 

กล่าวอีกนัยหนึ่ง ความเร่งชั่วขณะจะเท่ากับอนุพันธ์ของเวกเตอร์ความเร็วกับเวลา เปรียบเทียบกับสมการ 4.5 กับสมการ 2.10

 

การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ สามารถเกิดขึ้นเมื่ออนุภาคเกิดความเร่ง

 

อันดับแรก ขนาดของเวกเตอร์ความเร็ว (อัตราเร็ว) อาจเปลี่ยนไปตามเวลาซึ่งเป็นการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง (หนึ่งมิติ)

 

ต่อมาข้อสอง ทิศทางของเวกเตอร์ความเร็วอาจเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาแม้ว่าขนาดของมัน (อัตราเร็ว) ยังรักษาไว้อย่างคงที่ ในการเคลื่อนที่ในสองมิติไปตามเส้นทางโค้ง

 

สุดท้าย ทั้งขนาด และทิศทางของเวกเตอร์ความเร็วอาจเปลี่ยนแปลงไปพร้อม ๆ กัน

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

ขออัญเชิญพระบรมราโชวาทของในหลวง ให้เป็นแนวคิดดี ๆ

 

แก้ปัญหาด้วยปัญญา

ปัญหาทุกอย่างไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ มีทางแก้ไขได้

ถ้ารู้จักคิดให้ดี ปฏิบัติให้ถูก

การคิดได้ดีนั้น มิใช่การคิดได้ด้วยลูกคิด หรือด้วยสมองกล

เพราะโลกเราในปัจจุบันจะวิวัฒนาการไปมากเพียงใดก็ตาม

ก็ยังไม่มีเครื่องมืออันวิเศษชนิดใด

สามารถขบคิดแก้ไขปัญหาต่างๆได้อย่างสมบูรณ์

การขบคิดวินิจฉัยปัญหา จึงต้องใช้สติปัญญา

คือคิดด้วยสติรู้ตัวอยู่เสมอ

เพื่อหยุดยั้งและป้องกันความประมาทผิดพลาด

และอคติต่างๆมิให้เกิดขึ้น

ช่วยให้การใช้ปัญญาพิจารณาปัญหาต่างๆ

เป็นไปอย่างเที่ยงตรง ทำให้เห็นเหตุเห็นผลที่เกี่ยวเนื่องกัน

เป็นกระบวนการได้กระจ่างชัด ทุกขั้นตอน

 

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 1 สิงหาคม 2539

 

ทรงพระเจริญ

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา