บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,381
เมื่อวาน 1,008
สัปดาห์นี้ 5,977
สัปดาห์ก่อน 11,634
เดือนนี้ 34,212
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,378,709
  Your IP :3.133.147.87

 

      เรานิยาม ความเร็วเฉลี่ย (Average velocity: ) ของอนุภาคเคลื่อนที่ในช่วงเวลา Dt ซึ่งระยะขจัดของอนุภาคหารด้วยช่วงเวลา

 

รูปสมการที่ 4.2

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

      การคูณ หรือหารปริมาณเวกเตอร์ด้วยปริมาณสเกลาร์ เช่น เวลา Dt เปลี่ยนแปลงแต่เพียงเวกเตอร์ของขนาดเท่านั้น ไม่ใช่ทิศทาง เพราะว่า ปริมาณเวกเตอร์ระยะขจัด และช่วงเวลาเป็นปริมาณสเกลาร์บวก ซึ่งจะประกอบไปด้วยความเร็วเฉลี่ยเป็นปริมาณเวกเตอร์ทิศทางไปตาม ช่วงเวกเตอร์ระยะขจัด เปรียบกับสมการ 4.2 กับทิศทางหนึ่งมิติเมื่อเทียบกับสมการ 2.2

 

      ความเร็วเฉลี่ยระหว่างจุด เป็นอิสระของเส้นทางที่ผ่านมา นั่นก็เพราะว่า ความเร็วเฉลี่ยเป็นสัดส่วนต่อระยะขจัดการเคลื่อนที่ ซึ่งขึ้นอยู่กับตำแหน่งเริ่มต้น กับตำแหน่งสุดท้าย และไม่ได้อยู่บนเส้นทางที่นำมา เช่นเดียวกับการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ

 

       เราสรุปว่าถ้าอนุภาคเริ่มต้นการเคลื่อนที่ของมันที่บางจุด และย้อนกลับที่จุดนี้โดยผ่านเส้นทางใด ๆ ความเร็วเฉลี่ยของมันจะเป็นศูนย์ สำหรับการเดินทางครั้งนี้ เพราะว่าระยะขจัดของมันเป็นศูนย์ เราลองมาพิจารณาผู้เล่นบาสเกตบอล ในสนาม

 

รูปการเล่นบาสเกตบอล

      ก่อนหน้านี้ (บทที่ 2) เราพิจารณาการเคลื่อนที่ถอยหลัง และเดินหน้าในรูปแบบการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ ระหว่างห่วงเท่านั้น

 

      ในความเป็นจริงแล้ว ผู้เล่นจะเคลื่อนที่เต็มพื้นในรูปแบบสองมิติ โดยมีการวิ่งทั้งเดินหน้า และถอยหลังระหว่างห่วง แล้วก็จะมีทั้งการวิ่งไปซ้าย และขวาด้วยไปตามสนาม ที่เริ่มต้นจากห่วงด้านหนึ่ง ไปห่วงอีกด้านหนึ่งต้องวิ่งหลบหลีกผู้เล่นฝ่ายตรงข้าม วิ่งกลับไปกลับมา ซึ่งเป็นการเคลื่อนที่เป็นรูปแบบ 2 มิติ

 

รูปการเล่นบาสเกตบอลในสนามที่เคลื่อนที่แบบสองมิติ

 

      อย่างไรก็ดี ความเร็วเฉลี่ยของผู้เล่นเป็นศูนย์ เพราะว่าระยะขจัดของผู้เล่นสำหรับการวิ่งในสนามเป็นศูนย์

 

ลองพิจารณาการเคลื่อนที่อีกครั้งของอนุภาคระหว่างจุดสองจุด ในระนาบเอ็กซ์วายดังแสดงในรูปด้านล่าง

 

รูปอนุภาคเคลื่อนที่ระหว่างจุดสองจุด ความเร็วเฉลี่ยของมันอยู่ในทิศทางของเวกเตอร์ระยะขจัด ตามคำนิยาม ความเร็วชั่วขณะที่ A คือทิศทางตามแนวเส้นสัมผัสโค้งที่ A

 

ขณะที่ใช้เวลามากขึ้นเราสังเกตเห็นถึงการเคลื่อนที่มีขนาดเล็ก และเล็กยิ่งกว่า นั่นคือ B เคลื่อนที่ไปที่ B¢ และไปที่ B¢¢  เป็นต้น

 

      ทิศทางของระยะขจัดเข้าสู่แนวเส้นสัมผัสที่ส่วน A ในความเร็วชั่วขณะ ถูกกำหนดให้เป็นขีดจำกัด หรือลิมิตของความเร็วเฉลี่ย /Dt ซึ่ง Dt เข้าสู่ศูนย์ ความเร็วชั่วขณะจะเป็นดังนี้

 

รูปสมการที่ 4.3

 

      นั่นคือ ความเร็วชั่วขณะ จะเท่ากับอนุพันธ์ของเวกเตอร์ตำแหน่งกับเวลา ทิศทางของเวกเตอร์ความเร็วชั่วขณะที่จุดใด ๆ ในเส้นทางของอนุภาคตามแนวเส้นสัมผัสต่อเส้นทางที่จุดนั่น และในทิศทางของการเคลื่อนที่ เปรียบเทียบสมการที่ 4.3 ที่มีความสอดคล้องกับแบบที่เป็นหนึ่งมิติ คือในสมการที่ 2.5

 

ขนาดของเวกเตอร์ความเร็วชั่วขณะ v =   (รูป) ของอนุภาคที่เรียกว่า อัตราเร็ว (Speed) ของอนุภาค ซึ่งเป็นปริมาณสเกล่าร์

 

      ซึ่งอนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งในเส้นทางเดียวกัน เวกเตอร์ความเร็วชั่วขณะจะเปลี่ยนจากเวกเตอร์ความเร็วเริ่มต้น  ที่เวลา ti ไปถึงเวกเตอร์ความเร็วสุดท้าย  ที่เวลา tf  การที่รู้ความเร็วที่จุดเหล่านี้ทำให้เราสามารถทำการคำนวณค่าความเร่งเฉลี่ยของอนุภาคได้

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“เมื่อท่านเล่น ขอให้เล่นให้เต็มที่

แต่เมื่อท่านทำงาน ท่านต้องไม่เล่นเลย

When you play, play hard.

When you work, don’t play at all

ธีโอดอร์ โรสเวลต์

ประธานาธิบดีคนที่ 26 ของสหรัฐอเมริกา

 

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา