บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 67
เมื่อวาน 4,800
สัปดาห์นี้ 12,145
สัปดาห์ก่อน 12,965
เดือนนี้ 53,345
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,397,842
  Your IP :3.145.17.20

ตัวอย่างที่ 2.8 ระยะทางตำแหน่งของวัตถุที่เคลื่อนที่ไปตามแนวแกนเอ็กซ์ตามเวลาดังกราฟในรูป

 

 

รูปกราฟเปรียบเทียบระยะทาง, ความเร็ว, ความเร่ง

รูปด้านบน -กราฟระยะทางเวลาของวัตถุที่เคลื่อนที่ในแนวแกน

-กราฟความเร็ว-เวลา สำหรับวัตถุที่วัดโดยความเอียงของเส้นกราฟของกราฟระยะทางเวลา

-กราฟความเร่ง-เวลา ได้มาจากการวัดความชันเอียงของเส้นกราฟความเร็วเวลา

 

 

กราฟความเร็วกับเวลา และความเร่งกับเวลาของวัตถุ

 

วิธีทำ ความเร็วชั่วขณะใด ๆ ของความชันกราฟระยะทาง-เวลา ที่ชั่วขณะ ระหว่าง t = 0 และt = 4s ความชันของกราฟระยะทาง-เวลา มีรูปแบบที่เพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ

 

ดังนั้นความเร็วที่เพิ่มขึ้นแบบเส้นตรงดังแสดงในรูปด้านบน ระหว่าง t = 4s และ t = 7s ความชันของกราฟระยะทาง-เวลาคงที่

 

ดังนั้นค่าของความเร็วในกราฟ ความเร็ว – เวลา ก็ลดลง ที่ t = 15s ความเอียงของกราฟระยะทาง-เวลาเป็นศูนย์ ความเร็วจะเป็นศูนย์ที่ชั่วขณะหนึ่ง ระหว่าง t = 15s และ t = 20s ความลาดเอียงของกราฟระยะทาง – เวลา และความเร็วเป็นลบ และลดลงสม่ำเสมอในช่วงเวลานี้

 

ในช่วงเวลาของ t = 20s ถึง t = 27s ความลาดเอียงของกราฟ ความลาดเอียงของกราฟระยะทาง – เวลายังคงเป็นลบ และที่ t = 27s มันไปที่ศูนย์ สุดท้าย หลังจากที่ t = 27s  มีความลาดเอียง กราฟระยะทาง – เวลาก็คือศูนย์ หมายความว่าวัตถุอยู่นิ่งสำหรับ

 

      ความเร่งชั่วขณะใด ๆ เป็นเส้นลาดชันของกราฟความเร่ง กับเวลา ของวัตถุนี้ แสดงในรูปด้านบน ความเร่งคงที่ และเป็นบวกระหว่าง 0 และ t = 4s มีความชัดดูที่กราฟความเร็ว – เวลาเป็นบวก มันจะเป็นอยู่เมื่ออยู่ระหว่าง t = 4s และ t = 7s และ t > t = 27s   เพราะว่า ความชันของกราฟความเร็ว – เวลาเป็นศูนย์ที่เวลาเหล่านี้ มันเป็นลบระหว่าง t = 4s และ t = 7s เพราะว่า ความชันของกราฟความเร็ว – เวลาเป็นลบในระหว่างช่วงเวลานี้

 

ระหว่าง t = 20s ถึง t = 27s ความเร่งจะเป็นบวกคล้ายกับค่าที่อยู่ระหว่าง 0 และ t = 4s แต่ค่าจะสูงกว่า เพราะว่าความชันของกราฟความเร็ว – เวลา เป็นกราฟที่สูงชันมาก

      ข้อสังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงในความเร่งอย่างฉับพลันดังแสดงในรูป จะไม่เป็นในทางฟิสิกส์ เพราะการเปลี่ยนแปลงในทันทีที่เกิดขึ้นดังกล่าวจะไม่เกิดขึ้นในทางความเป็นจริง          ตอบ

 

 

ตัวอย่างที่ 2.9 ความเร่งเฉลี่ย และชั่วขณะ

อนุภาคเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเคลื่อนที่ไปตามแกน x เป็นไปดังสมการ vx = 40 – 5t2 

 

กำหนดให้      vx = ความเร็ว (m/s)

                  t =  เวลา (s)

 

ให้หา     1) ความเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา t = 0 ถึง t = 2 s

            2) หาความเร่งที่เวลา t = 2 s

 

วิธีทำ

1) ความเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา t = 0 ถึง t = 2 s

 

แนวคิดเกี่ยวกับอนุภาคกระทำให้เห็นได้จากการแสดงสมการทางคณิตศาสตร์ มันเป็นการเคลื่อนที่ที่ t = 0 ใช่หรือไม่? ในทิศทางไหน? มันเร็วขึ้น หรือช้าลง?

 

กราฟความเร็วเวลานั่นเป็นการสร้างกราฟจากความเร็วกับเวลาการแสดงออกที่กำหนดไว้ในปัญหา เพราะว่าเส้นเอียงของทางเข้ากราฟ v-t เป็นลบ เราคาดว่าอัตราเร่งจะเป็นลบ

ให้หาความเร็วที่ ti = tA = 0 และ tf = tB = 2 s  โดยแทนคำเหล่านี้เป็นการแสดงออกสำหรับความเร็ว

 

TA = vx = 40 – 5tA2

 

= 40 – 5(0)2 = +40 m/s

 

tB = vx = 40 – 5tB2

 

= 40 – 5(2)2 = +20 m/s

 

หาความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลาที่กำหนด Dt = tB – tA = 2 s

 

a = (vxf – vxi)/(tf – ti)

 

= (vB – vA)/(tB – tA)

 

= (20 m/s– 40 m/s)/(2 s– 0 s)

 

= –10 m/s2

 

เครื่องหมายลบเป็นสิ่งที่บอกว่าสอดคล้องกับสิ่งที่เราคาดหวัง ความเร่งเฉลี่ย แทนด้วยเส้นสีฟ้าร่วมกับจุดเริ่มต้น และจุดสุดท้ายในกราฟความเร็ว-เวลา เป็นลบ

 

 

2) หาความเร่งที่เวลา t = 2 s

 

วิธีทำ

 

รู้ว่าความเร็วเริ่มต้นที่เวลา t คือ vx = 40 – 5t2 หาความเร็วที่เวลาในภายหลัง t + Dt

 

vx = 40 – 5(t + Dt)2

 

= 40 – 5t2 – 10tDt – 5(Dt)2

 

หาความเร็วที่เปลี่ยนแปลงในเหนือช่วงเวลา Dt

 

Dvx = vxf – vxi = –10tDt – 5(Dt)2

 

 

เพื่อหาความเร่งที่เวลา t ใด ๆ แบ่งการแสดงนี้โดย Dt และหาค่าโดยวิธีการลิมิตผล Dt เข้าสู่ศูนย์

 

ax =limDt®0 Dvx/Dt

 

= limDt®0 (-10t - 5Dt)

 

= –10t

 

แทนที่ t = 2 s

 

ax = –10t = (-10)(2) = -20 m/s 2

 

เพราะว่า ความเร็วของอนุภาคเป็นบวก และความเร่งเป็นลบ ณ ชั่วขณะหนึ่ง อนุภาคจะชะลอตัวลง

 

ข้อสังเกต คำตอบในส่วน A และ B มีความแตกต่าง ความเร่งเฉลี่ยในส่วน A คือความชันของเส้นน้ำเงินในรูป 2.9 ต่อเชื่อมกับ a ถึง b ส่วนความเร่งชั่วขณะในส่วน B คือความชันของเส้นเขียวสัมผัสกับเส้นโค้งที่จุด b สังเกตอีกอย่างหนึ่งว่าความเร่งในตัวอย่างนี้ไม่คงที่ ส่วนสถานะที่เกี่ยวข้องกับความเร่งคงที่ดูได้ในหัวข้อ 2.6 

 

      จนถึงขณะนี้เรามีการประเมินค่าอนุพันธ์ของฟังชันก์โดยเริ่มต้นกับคำนิยามของฟังชันก์ และแล้วก็เอาข้อจำกัดของอัตราส่วนเฉพาะ ถ้าคุณคำนวณด้วยแคลคูลัส คุณควรที่จะตระหนักว่ามีกฏเฉพาะอยู่สำหรับการหาอนุพันธ์

 

      กฎเหล่านี้ ดูได้จากภาคผนวก ที่ช่วยให้เราประเมินการอนุพันธ์ได้เร็ว ยกตัวอย่างเช่น มีกฏหนึ่งกล่าวไว้ว่าค่าอนุพันธ์ของค่าคงที่ใด ๆ เท่ากับศูนย์ ซึ่งเป็นอีกตัวอย่าง สมมติว่า x เป็นไปตามสมการด้านล่าง

 

x = Atn

 

กำหนดให้      A และ n คือค่าคงที่ (การแสดงออกนี้มีส่วนร่วมกันกับรูปแบบฟังชันก์อย่างมาก) อนุพันธ์ของ x กับ t มีดังนี้

 

 

dx/dt = nAtn - 1

 

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา