บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 2,399
เมื่อวาน 1,634
สัปดาห์นี้ 8,629
สัปดาห์ก่อน 11,634
เดือนนี้ 36,864
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,381,361
  Your IP :3.133.141.6

1.2 ประวัติของเครื่องมือกล

 

      การพัฒนาเครื่องกลตัดโลหะ (หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเครื่องมือกล) ในสมัยโบราณเริ่มต้นจากการสร้างล้อทรงกระบอกให้เป็นการหมุนอย่างง่าย ปัจจุบันพัฒนาเปลี่ยนไปเป็นเป็นลูกกลิ้งที่นำทางหมุนด้วย ตลับลูกปืน (Bearing)

 

 

รูปตัวอย่างตลับลูกปืน

ที่มา : https://images-na.ssl-images-amazon.com

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

หากสนใจหนังสือ อื่น ๆ นอกเหนือจากนี้ 

คลิก 

 

ยกตัวอย่างเช่น ชาวอียิปต์สมัยโบราณใช้ล้อลูกกลิ้งเหล่านี้ เป็นล้อเพื่อเคลื่อนย้ายหินที่จะนำมาสร้างปีรามิด

 

 

รูปชาวอียิปต์โบราณใช้ลูกกลิ้งในการเคลื่อนหิน

ที่มา : https://i.ytimg.com

 

ในด้านเครื่องมือ มีการใช้ลูกกลิ้งโดยเริ่มการนำไปใช้ในเครื่องเจาะไม้

 

      โดยเครื่องแรก ซึ่งมีมาแล้วตั้งแต่ 4000 ปีก่อนคริสตกาล เครื่องมือเจาะมีปลายทำด้วยหินไฟสวมอยู่ ถูกสร้างโดย เลโอนาโด ดาวินชี (Leonardo da Vinci) (มีชีวิตอยู่ในปีพ.ศ. 1993-2062)

 

 

รูปเครื่องเจาะของเลโอนาโด ดาวินชี

ที่มา : https://images-na.ssl-images-amazon.com

 

 

      ในปี พ.ศ. 2383 เครื่องกลึงเครื่องแรกได้ถูกสร้างขึ้นโดย มอสด์เลย์ (Maudslay) (มีชีวิตอยู่ในปีพ.ศ. 2314-2374)

 

 

รูปเครื่องกลึงของมอสด์เลย์

ที่มา : https://s3-eu-west-1.amazonaws.com

 

      ได้มีการเพิ่มติดตั้ง สกรูนำ (Lead screw), เฟืองหลัง และเสาเครื่องมือเข้ามาในการออกแบบสมัยนั้น ต่อมาในภายหลังก็ได้มีการประดิษฐ์ทางสไลด์สำหรับตัวยันท้าย (Tailstock) และระบบเปลี่ยนเครื่องมืออัตโนมัติซึ่งรวมกันเป็นกลุ่มเครื่องมือ

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“คุณอาจจะเชื่องช้า

แต่ เวลา

ไม่ได้เชื่องช้าไปกับคุณ

You may delay, but time will not.

Benjamin Franklin

Scientist, Inventor and Writer

 

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                    หน้าต่อไป>

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา