บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,945
เมื่อวาน 1,871
สัปดาห์นี้ 8,050
สัปดาห์ก่อน 15,976
เดือนนี้ 70,976
เดือนก่อน 47,501
ทั้งหมด 4,338,863
  Your IP :3.85.9.208

      ตัวต้านทานแบบติดบนพื้นผิว (Surface-mount resistors)

 

 

รูปตัวต้านทานแบบติดพื้นผิว

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

 

 

รูปที่ติดบนแผงบอร์ด

 

เหมาะสำหรับการใช้งานในวงจรขนาดเล็ก มีลักษณะเป็นแผ่นฟิล์มบาง ๆ หรือโลหะผสมบาง ๆ วางอยู่บนฐานเซรามิค หรือพื้นผิวที่สัมผัสจากส่วนประกอบตัวต้านทานไปที่แผงวงจรผ่านทางฝาโลหะ หรือขั้วต่อ ทำให้มีขนาดที่เล็ก

 

      ในการใช้งาน ในการประยุกต์ใช้ ก็โดยการนำมาแปะวางกับแผงวงจร แล้วทำการบัดกรีที่ปลายหัวท้ายโดยตรง หากในโรงงานผลิตก็จะเป็นการประกอบ และบัดกรีอัตโนมัติด้วยหุ่นยนต์ ใช้เวลาในการบัดกรีสั้น ๆ ทำให้เกิดความร้อนน้อย

 

      นอกจากนี้มันมีน้ำหนักเบา, เล็ก และสามารถนำไปใช้ในแผงวงจรขนาดเล็กได้ ตัวต้านทานแบบติดบนพื้นผิวนี้มีทั้งแบบหนา และแบบบาง สามารถใช้งานได้ตั้งแต่ความต้านทาน 0 โอห์ม – 10 เมกะโอห์ม มีค่าความคลาดเคลื่อน 5% 0.1% มีความสามารถจัดการพลังงาน หรือใช้กำลังงาน 1/16 – 1 วัตต์

 

 

      ตัวต้านทานปรับค่าได้ (Variable resistors) เป็นแบบที่ยอมให้เกิดการปรับค่าความต้านทานได้ พวกมันจะมีส่วนประกอบของคาร์บอน แล้วมีสายไฟเชื่อมต่อสองขั้ว ส่วนขั้วที่สาม ไว้เพื่อการหมุน หรือกวาดเลื่อนเพื่อปรับค่า ซึ่งต่อกับตัวหมุนเป็นวงกลม หรือตัวกวาดเลื่อนตามแนวยาว หากความต้านทานระหว่างขั้ว และปลายด้านหนึ่งค่าจะเพิ่มขึ้น ในขณะที่ความต้านทานระหว่างขั้วกลาง กับขั้วอีกด้านลดลงกลับดูที่รูป

 

 

 

รูปตัวต้านทานปรับค่าได้

รูปภายในตัวต้านทานปรับค่าได้

 

ตัวต้านทานปรับค่าได้สามารถใช้ได้กับความต้านทานที่แตกต่างกันไปตามแนวเส้นคาร์บอน (ที่เป็นแนวเทป) หรือลอการิทึม (Logarithmically) (แถบเส้นเสียง)

 

      ตัวต้านทานปรับค่าได้ใช้เพื่อควบคุมแรงดันไฟฟ้าที่เรียกว่า โพเทนชั่นมิเตอร์ (Potentionmeter) หรือพอท (Pot) ส่วนตัวต้านทานที่ใช้ปรับค่ากระแสไฟฟ้าเรียกว่า รีห์โอสตัด (Rheostat) ดูที่รูป

 

 

 

รูปตัวอย่างโพเทนเทนชั่นมิเตอร์

 

 

รูปตัวอย่างรีห์โอสตัดปรับกระแสไฟฟ้า

 

 

รูปวงจรภายในรีห์โอสตัด

 

 

 

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

ชีวิต

ก็เหมือนใบไม้

ถึงจะอยู่สูง หรือต่ำ

สุดท้าย

ก็กลับลงสู่ พื้นดิน”

 

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                    หน้าต่อไป>

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา