บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,492
เมื่อวาน 1,871
สัปดาห์นี้ 7,597
สัปดาห์ก่อน 15,976
เดือนนี้ 70,523
เดือนก่อน 47,501
ทั้งหมด 4,338,410
  Your IP :3.230.1.23

3.9.3 ตัวตรรกะวิเคราะห์

 

 

รูปอุปกรณ์วิเคราะห์ลอจิก

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

        ตัวตรรกะวิเคราะห์ หรืออุปกรณ์วิเคราะห์ลอจิก (Logic analyzer) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ตรวจสอบที่ไม่สร้างการรบกวน และใช้ทำการทดสอบไมโครคอนโทรลเลอร์ มันมักจะเชื่อมต่อได้กับทั้งตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ และตัวจำลอง หรือซิมูเลเตอร์ (Simulator)

 

      ขณะที่ไมโครคอนโทรลเลอร์กำลังรันโปรแกรม และทำกระบวนการข้อมูล ตัวซิมูเลเตอร์ ก็มีการจำลองด้านขาเข้า และการแสดงผลของระบบ แบบ รหัสทริกเกอร์ (Trigger word) เพื่อทำให้สามารถเข้าไปยังอุปกรณ์วิเคราะห์ลอจิก เป็นรูปแบบบิต ซึ่งเป็นแบบหนึ่งของบัสตรวจสอบทำโดยอุปกรณ์วิเคราะห์ลอจิก

 

 

รูปหน้าจอตัวอย่างในการวิเคราะห์ลอจิก

 

      ด้วยการทริกเกอร์นี้ บริเวณการจราจรบัสรอบ ๆ ตรงจุดที่สนใจ จะสามารถจับภาพ และเก็บไว้ในหน่วยความจำของตัววิเคราะห์ได้ ประกอบผกผัน (Inverse assembler) ในตัววิเคราะห์ช่วยให้โค๊ดเครื่องบนบัสมองเห็น และสามารถทำการวิเคราะห์ได้ในรูปแบบระดับคำสั่งของโปรแกรม

 

      นอกจากนี้ อุปกรณ์วิเคราะห์ยังสามารถจับภาพอนาล็อกด้านขาออกของไมโครคอนโทรลเลอร์ได้อีกด้วย อีกทั้งยังสามารถนำมาใช้เพื่อตรวจสอบรอบการทำงาน PWM ที่ได้รับคำสั่งอย่างถูกต้อง ซิมูเลเตอร์สามารถนำสู่การจำลองแบบสั้น หรือเปิดเข้าไปยังระบบ แล้วจากนั้นอุปกรณ์วิเคราะห์ก็จะใช้เพื่อการดูซอฟแวร์อย่างถูกต้อง ทำให้ระบบสนองตอบต่อความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น

 

      อุปกรณ์วิเคราะห์ลอจิก ยังสามารถตรวจสอบในงานวนรอบหลักของระบบ เพื่อทำให้แน่ใจว่าระบบมีความสมบูรณ์ทั้งหมดของงานภายในเวลาที่กำหนด เช่น 15 มิลลิวินาที (ms)

 

ตัวอย่างของอุปกรณ์วิเคราะห์ลอจิกคือ ฮิวเลต แพ็คการด์ เฮชพี (Hewlett Packard: HP) 54620

 

 

รูปอุปกรณ์วิเคราะห์ลอจิก HP 54620

 

วิดีโอตัวอย่างการใช้งานอุปกรณ์วิเคราะห์ลอจิก

 

 

 

3.10 บทสรุป

 

      บทนี้ได้กล่าวเบื้องต้นในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับระบบแมคาทรอนิกส์ หัวข้อเหล่านี้ไม่เพียงแต่รวมไปถึงขาเข้า และกระบวนการของแมคาทรอนิกส์เท่านั้น แต่มันยังมีการกล่าวถึงการออกแบบ และทดสอบอีกด้วย ซึ่งบทต่อ ๆ ไปที่จะกล่าวในอนาคต จะได้กล่าวถึงรายละเอียดในแต่ละภาคส่วนต่าง ๆ ที่เคยกล่าวในบทนี้

 

 

จบบทที่ 3

 

ครั้งหน้าพบกับ บทที่ 4  เรื่องการควบคุมด้วยไมโครโปรเซสเซอร์ และไมโครอิเล็กทรอนิกส์ โปรดติดตาม

 

 

 

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

ร่วมน้อมรำลึกถึง คำพ่อสอน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต

 

สามัคคี คือการเห็นแก่บ้านเมือง และช่วยกันทุกวิธีทาง

เพื่อที่จะสร้างบ้านเมืองให้เข้มแข็ง

ด้วยการเห็นอกเห็นใจซึ่งกัน และกัน 

ทำงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริตแย่งตรงไปตรงมา

นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม

นั้นคือความมั่นคงของบ้านเมือง

 

พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

ในพิธีประดับยศนายตำรวจชั้นนายพล ๑๕ มกราคม ๒๕๑๙

 

 

ขอน้อมส่งพระองค์สู่สวรรคาลัย

ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ

 

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา